“อัจฉริยลักษณะและอดีตชาติข องท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต”
ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ท่านเป็นผู้มีอัจฉริยลักษณะ และอัจฉริยนิสัยที่เป็นเอกล ักษณ์เฉพาะองค์ มีปฏิปทามักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลีระคนด้วยหมู่ แสวงหาวิเวก ปรารภความเพียร ตั้งแต่วันอุปสมบทมา จนกระทั่งวาระสุดท้าย
ธุดงควัตร ที่ท่านปฏิบัติเป็นประจำตลอ ดชีวิต คือ บิณฑบาตเป็นวัตร ...
ฉันในบาตรเป็นวัตร
ใช้ผ้าบังสุกุลเป็นวัตร
อยู่ในป่าเป็นวัตร
ถือนั่งฉันอาสนะเดียวเป็นวั ตร
ท่านพระอาจารย์มั่น ท่านเป็นผู้ที่มีลักษณะสมบู รณ์แบบทั้งภายนอกและภายใน ท่านเกิดมาเพื่อเป็นปรมาจาร ย์ แม้รูปกายและกิริยาของท่านก ็เป็นลักษณะของท่านผู้มีบุญ ใหญ่ คือ
“คิ้ว” ของท่านมีไฝตรงกลางระหว่างค ิ้ว ลักษณะคล้ายกับอุณาโลมของพร ะพุทธเจ้า ไฝนี้เป็นจุดดำเล็ก ๆไม่ได้นูนขึ้นมา มีขนอ่อน ๓ เส้น ไม่ยาวมาก เป็นเส้นละเอียดอ่อนมาก ถ้าไม่สังเกตให้ดีจะไม่เห็น
“หู” ของท่านมีลักษณะหูยาน เป็นหูของนักปราชญ์
“จมูก” โด่งรับกับใบหน้า เข้ารูปลักษณะชายชาติอาชาไน ย
“ตา” ของท่านแหลมคมเหมือนตาไก่ป่ า คือ ตาดี รวดเร็ว คือ มีแววตาเป็นวงแหวนในตาดำ เป็นตาของจอมปราชญ์
“นิ้วมือ” ของท่านนิ้วชี้จะยาวกว่า แล้วไล่ลงมาถึงนิ้วก้อย
“นิ้วเท้า” ก็เหมือนกัน นิ้วชี้จะยาวกว่า แล้วไล่ลงมาถึงนิ้วก้อย
“ฝ่าเท้า” ของท่านจะเป็นลายก้นหอยสองอ ัน และมีรอยอยู่กลางฝ่าเท้าเหม ือนกากบาท
เวลาท่านเดินไปไหน ท่านเดินก่อน สานุศิษย์ไม่เหยียบรอยท่าน พอท่านเดินผ่านไปแล้ว ชาวบ้านจะไปยืนมุงมองดูจะเห ็นเป็นลายตารางปรากฏอยู่ทั้ งสองฝ่าเท้า
“รอยนิ้วเท้า” ก็เป็นก้นหอยเหมือนกัน จะเรียกก้นหอยหรือวงจักรก็ไ ด้ มีอันใหญ่กับอันเล็ก ๒ อัน เป็นลักษณะพิเศษของท่าน
“ฝ่ามือ” ของท่านเวลาสานุศิษย์นวดเส้ นถวาย ได้พลิกฝ่ามือของท่านดูปราก ฏว่า มีเส้นกากบาทเต็มฝ่ามือทั้ง สองข้าง
“เสียง” ของท่านเสียงกังวาน ไพเราะ ฟังเพลิน ฟังเหมือนเสียงฟ้าดินถล่ม ผู้ฟังไม่อิ่มไม่เบื่อ แรงแต่ไม่เป็นอันตราย
“คำพูด” ของท่านเหมือนถอดจากหัวใจดว งหนึ่งไปสู่หัวใจอีกดวงหนึ่ ง แม้ท่านเทศน์จบแล้วผู้ฟังก็ ยังอยากฟังต่อไปอีก แม้คนละเชื้อชาติภาษาท่านก็ สามารถสอนให้เข้าใจได้
“วาจา” ของท่านเป็นธรรมชาติที่บริส ุทธิ์ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา ไม่มีลาภ ยศ อามิสเจือวาจาของท่าน เทศน์จึงขลังดี พูดถูกธรรม ตรงไป ตรงมา ไม่เห็นแก่หน้าบุคคลและอามิ ส
“ฤทธิ์” ท่านไม่ชอบแสดงฤทธิ์ ท่านชอบภาวนาให้สิ้นกิเลส ฤทธิ์ทั้งหลายเกิดด้วยกำลัง สมถะ ฌานสมาบัติทั้งนั้น ใช้วิปัสสนาอย่างเดียวไม่มี ฤทธิ์สำเร็จอรหันต์
ท่านพระอาจารย์มั่นท่านเล่า เรื่อง ในอดีตชาติท่านได้พิจารณาร่ างกระดูกมาถึง ๕๐๐ ชาติ ได้พิจารณาวัฏฏะอีกถึง ๕๐๐ ชาติ
เริ่มตั้งแต่เกิดเป็นเสนาบด ีเมืองกุรุรัฐ ชมพูทวีป ประเทศอินเดีย ผู้เกี่ยวข้องในครั้งนั้น คือ ท่านเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจา รย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) คือ พระปทุมราชา ผู้ครองแคว้นกุรุ เป็นพี่ชาย
ในชาตินั้นท่านได้เข้าเฝ้าพ ระพุทธเจ้าเฉพาะพระพักตร์ ปฏิญาณตนเป็นอุบาสกถึงพระรั ตนตรัย ตั้งความปรารถนาเป็นพระพุทธ เจ้าต่อหน้าพระพักตร์ แต่ยังไม่ได้รับพุทธทำนาย
ท่านพระอาจารย์มั่นเล่าว่า พระพุทธองค์ตรัสธรรมแก่ท่าน ซึ่งเป็นอุบาสกในครั้งนั้นว ่า....
....อุบาสกผู้ประกอบด้วยธรร ม ๕ ประการ ย่อมเป็นอุบาสกผู้เลวทราม เศร้าหมอง น่าเกลียด คือ
อุบาสกเป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๑
เป็นผู้ทุศีล ๑
เป็นผู้ถือมงคลตื่นข่าว เชื่อมงคล ไม่เชื่อกรรม ๑
แสวงหาเขตบุญภายนอกศาสนา ๑
ทำการสนับสนุนในที่นอกศาสนา นั้น ๑
ส่วนอุบาสกแก้วก็มีนัยตรงกั นข้ามกับอุบาสกเลวนี้
ท่านบอกว่าจิตท่านมั่นคงในพ ระรัตนตรัย ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
อีกชาติหนึ่งท่านเกิดที่ลัง กาทวีป ประเทศศรีลังกา ได้บวชเป็นพระ ได้เข้าร่วมสังคายนาพระไตรป ิฎกครั้งที่ ๔ ปรารภให้พระศาสนาประดิษฐานม ั่นคงในลังกาทวีป พระสงฆ์ ๖๘,๐๐๐ รูป มีพระมหินทเถระเป็นประธานแล ะเป็นผู้ถาม พระอริฏฐะเป็นผู้วิสัชนา ประชุมที่ถูปาราม เมืองอนุราชบุรี เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖ โดยพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะเ ป็นศาสนูปถัมภ์ สิ้นเวลา ๑๐ เดือนจึงเสร็จ
จากนั้นท่านได้มาเกิดที่มณฑ ลยูนานประเทศจีน ในตระกูลขายผ้าขาว มีน้องสาวคนหนึ่งเคยช่วยเหล ือกัน มาชาตินี้ คือ นางนุ่ม ชุวานนท์ คหปตานีชาวสกลนคร ผู้สร้างวัดป่าสุทธาวาสถวาย และท่านก็ได้สงเคราะห์ด้วยธ รรมแก่เธอมาโดยตลอด
ชาติหนึ่งท่านไปเกิดที่โยนก ประเทศ ปัจจุบันคือเมืองเชียงตุง ประเทศพม่า ในตระกูลช่างทำเสื่อลำแพน ท่านพระอาจารย์เสาร์ เป็นนายช่างใหญ่ ท่านพระอาจารย์มั่นเป็นผู้จ ัดการ ส่วนพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธฺโล) เป็นคนเดินตลาด
ท่านพระอาจารย์มั่นสอนท่านพ ่อลีต่อไปอีกว่า ผู้ปฏิบัติต้องรู้ที่จะแก้จ ิตของตน ให้รู้จักภพของตนที่จะไปเกิ ด ต้องผ่านความผิดมาเสียก่อน จึงปฏิบัติถูก
ความผิดเป็นเหตุ ความถูกเป็นผลของความดีทั้ง หลาย
ต้องเดินมรรค ๘ ให้ถูกจึงจะแก้ได้ เดินตามสายหนทางของพระอริยเ จ้า ใช้ตบะอย่างยิ่งคือความเพีย ร จึงจะสอนตนได้
โลกีย์ โลกุตระ ๒ อย่าง ประจำอยู่ในโลก ๓ ภพ
และท่านพระอาจารย์มั่นได้แส ดงธรรมโดยยกธรรมชาติมาเปรีย บเทียบให้ฟังในหลายคราว มีใจความย่อดังนี้ว่า
“....ธรรมะ หรือ ธัมโม ต้องเรียนเอามาจากธรรมชาติ เห็นความเกิด ความแปรปรวน ของสังขารประกอบด้วยไตรลักษ ณ์
เป็นนักปฏิบัติกรรมฐานอย่าเ ชื่อหมอมากนัก ให้เชื่อธรรม เชื่อกรรม เชื่อผลของกรรม จึงจะดี ธรรมะทั้งหมดชี้เข้าที่กายก ับจิต เพราะกายและจิตนั่นแหละ เป็นคัมภีร์เดิม เป็นคัมภีร์ธรรมะที่แท้จริง
ภูเขา ทะเล สายน้ำ แผ่นดิน แผ่นฟ้า เห็นไปดูไปก็ไม่มีความหมาย ให้เห็นแต่ชาติทุกข์ ชราทุกข์ พยาธิทุกข์ มรณทุกข์ เท่านั้นแล
ทิฐิมานะนั่นแหละ เป็นภูเขาสูงหาที่ประมาณมิไ ด้
โลกสันนิวาส มีความแปรปรวนตั้งเที่ยงอยู ่เช่นนั้น แต่จิตของเรารักษาไว้ให้ดี อย่าให้ติด ถ้าไม่ติดก็ได้ชื่อว่าเป็นส ุข
พิจารณาค้นกาย ตรวจกายถูกดีแล้ว ค้นดูกายถึงหลัก แลเห็นอริยสัจของจริงแล้ว เดินตามมรรคเห็นตัวสมุทัย เห็นทุกขสัจ
ต้องทำจิตให้เป็นเอก ต้องสงเคราะห์ธรรมให้เป็นเอ กเสมอ
พระอรหันต์มีคุณอนันต์นับหา ประมาณมิได้ พระอรหันต์ตรัสรู้ในตัวเห็น ในตัว มีญาณแจ่มแจ้งดี ล้วนแต่เล่าเรียนธรรมชาติทั ้งนั้น”
คัดลอกจากหนังสือชีวประวัติ และปฏิปทา “ท่านพ่อลี ธมฺมธโร พระอริยเจ้าผู้มีพลังจิตแก่ กล้า”
ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ท่านเป็นผู้มีอัจฉริยลักษณะ
ธุดงควัตร ที่ท่านปฏิบัติเป็นประจำตลอ
ฉันในบาตรเป็นวัตร
ใช้ผ้าบังสุกุลเป็นวัตร
อยู่ในป่าเป็นวัตร
ถือนั่งฉันอาสนะเดียวเป็นวั
ท่านพระอาจารย์มั่น ท่านเป็นผู้ที่มีลักษณะสมบู
“คิ้ว” ของท่านมีไฝตรงกลางระหว่างค
“หู” ของท่านมีลักษณะหูยาน เป็นหูของนักปราชญ์
“จมูก” โด่งรับกับใบหน้า เข้ารูปลักษณะชายชาติอาชาไน
“ตา” ของท่านแหลมคมเหมือนตาไก่ป่
“นิ้วมือ” ของท่านนิ้วชี้จะยาวกว่า แล้วไล่ลงมาถึงนิ้วก้อย
“นิ้วเท้า” ก็เหมือนกัน นิ้วชี้จะยาวกว่า แล้วไล่ลงมาถึงนิ้วก้อย
“ฝ่าเท้า” ของท่านจะเป็นลายก้นหอยสองอ
เวลาท่านเดินไปไหน ท่านเดินก่อน สานุศิษย์ไม่เหยียบรอยท่าน พอท่านเดินผ่านไปแล้ว ชาวบ้านจะไปยืนมุงมองดูจะเห
“รอยนิ้วเท้า” ก็เป็นก้นหอยเหมือนกัน จะเรียกก้นหอยหรือวงจักรก็ไ
“ฝ่ามือ” ของท่านเวลาสานุศิษย์นวดเส้
“เสียง” ของท่านเสียงกังวาน ไพเราะ ฟังเพลิน ฟังเหมือนเสียงฟ้าดินถล่ม ผู้ฟังไม่อิ่มไม่เบื่อ แรงแต่ไม่เป็นอันตราย
“คำพูด” ของท่านเหมือนถอดจากหัวใจดว
“วาจา” ของท่านเป็นธรรมชาติที่บริส
“ฤทธิ์” ท่านไม่ชอบแสดงฤทธิ์ ท่านชอบภาวนาให้สิ้นกิเลส ฤทธิ์ทั้งหลายเกิดด้วยกำลัง
ท่านพระอาจารย์มั่นท่านเล่า
เริ่มตั้งแต่เกิดเป็นเสนาบด
ในชาตินั้นท่านได้เข้าเฝ้าพ
ท่านพระอาจารย์มั่นเล่าว่า พระพุทธองค์ตรัสธรรมแก่ท่าน
....อุบาสกผู้ประกอบด้วยธรร
อุบาสกเป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๑
เป็นผู้ทุศีล ๑
เป็นผู้ถือมงคลตื่นข่าว เชื่อมงคล ไม่เชื่อกรรม ๑
แสวงหาเขตบุญภายนอกศาสนา ๑
ทำการสนับสนุนในที่นอกศาสนา
ส่วนอุบาสกแก้วก็มีนัยตรงกั
ท่านบอกว่าจิตท่านมั่นคงในพ
อีกชาติหนึ่งท่านเกิดที่ลัง
จากนั้นท่านได้มาเกิดที่มณฑ
ชาติหนึ่งท่านไปเกิดที่โยนก
ท่านพระอาจารย์มั่นสอนท่านพ
ความผิดเป็นเหตุ ความถูกเป็นผลของความดีทั้ง
ต้องเดินมรรค ๘ ให้ถูกจึงจะแก้ได้ เดินตามสายหนทางของพระอริยเ
โลกีย์ โลกุตระ ๒ อย่าง ประจำอยู่ในโลก ๓ ภพ
และท่านพระอาจารย์มั่นได้แส
“....ธรรมะ หรือ ธัมโม ต้องเรียนเอามาจากธรรมชาติ เห็นความเกิด ความแปรปรวน ของสังขารประกอบด้วยไตรลักษ
เป็นนักปฏิบัติกรรมฐานอย่าเ
ภูเขา ทะเล สายน้ำ แผ่นดิน แผ่นฟ้า เห็นไปดูไปก็ไม่มีความหมาย ให้เห็นแต่ชาติทุกข์ ชราทุกข์ พยาธิทุกข์ มรณทุกข์ เท่านั้นแล
ทิฐิมานะนั่นแหละ เป็นภูเขาสูงหาที่ประมาณมิไ
โลกสันนิวาส มีความแปรปรวนตั้งเที่ยงอยู
พิจารณาค้นกาย ตรวจกายถูกดีแล้ว ค้นดูกายถึงหลัก แลเห็นอริยสัจของจริงแล้ว เดินตามมรรคเห็นตัวสมุทัย เห็นทุกขสัจ
ต้องทำจิตให้เป็นเอก ต้องสงเคราะห์ธรรมให้เป็นเอ
พระอรหันต์มีคุณอนันต์นับหา
คัดลอกจากหนังสือชีวประวัติ
“...คนโบราณบางคนเขาว่า เมื่อมันเจ็บมันไข้ จวบลมหายใจจะขาด ให้ค่อย ๆ เข้าไปกระซิบใกล้หูคนไข้ว่า “พุทโธ พุทโธ พุทโธ” มันจะเอาอะไร “พุทโธ” นั่นนะ คนที่ใกล้จะนอนในกองไฟจะรู้ จัก “พุทโธ” อะไร ตั้งแต่ยังเป็นหนุ่มเป็นสาว อายุรุ่น ๆ ทำไมไม่เรียนพุทโธให้มันรู้ หายใจติดบ้างไม่ติดบ้าง "แม่ ๆ พุทโธ พุทโธ" ว่าให้มันเหนื่อยทำไม อย่าไปว่าเลย มันหลายเรื่อง เอาได้แค่นั้นก็สบายแล้ว... เมื่อมีกำลังเรี่ยวแรงก็รีบ ทำจะทำบ...ุญสุนทาน จะทำอะไรก็รีบจัดทำกัน แต่ว่าคนเราก็มักจะไปมอบให้ แต่คนแก่ จะเข้าวัดศึกษาธรรมะรอให้แก ่เสียก่อน โยมผู้หญิงก็เหมือนกัน โยมผู้ชายก็เหมือนกัน ให้แก่เสียก่อนเถอะ ไม่รู้ว่าอะไรกันคนแก่นี่มั นกำลังดีไหม ลองไปวิ่งแข่งกับคนหนุ่มดูซ ิ ทำไมจะต้องไปมอบให้คนแก่เหม ือนไม่รู้จักตาย พอแก่มาสัก ๕๐ ปี ๖๐ ปี จวนเข้าวัดอยู่แล้ว หูตึงเสียแล้ว ความจำก็ไม่ดีเสียแล้ว นั่งก็ไม่ทน "ยายไปวัดเถอะ.." "โอย..หูฉันไม่ดีแล้ว" นั่นเห็นไหม ตอนหูดีเอาไปฟังอะไรอยู่ จังว่า... จังว่า มันคาแต่ลูกหว้าอยู่นั่นแหล ะ จนหูมันหนวกเสียแล้วจึงไปวั ด มันก็ไปได้นั่งฟังท่านเทศน์ เทศน์อะไรไม่รู้เรื่อง มันหมดแล้วจึงมาทำกัน ยามหนุ่มสังขารแบกเรา ยามแก่เราแบกสังขาร..." โอวาทธรรมคำสอนหลวงพ่อชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี See More
“..ภาวนาน่ะ ให้ทำไปเถอะ ไม่ต้องถามเยอะ ต้องอดทน สู้ไม่ถอย ทำความเพียรต่อเนื่อง เบิ่งใจให้มันดี ถ้าใจดีเมิ้ดแล่ว อีหยังก็ดีโม้ด ครูบาอาจารย์ได้แต่แนะนำแนว
"..กาลเวลาเดือนปี เราอย่าให้ความสนใจมันมาก ให้สนใจการกระทำของตนเองให้ มาก ก็เหมือนเราได้เงินเดือนคนล ะสองหมื่นสามหมื่น แต่มันเก็บเข้ากระปุกแค่ห้า สิบตังค์ ที่เหลือเราเอาไปใช้จ่ายไม่ ได้เกิดประโยชน์ เอาไปจ่ายฟรี ไม่เป็นสาระ มันก็มีแต่หมดไปหมดไป เกิดมาเราได้ทำความดีไว้ประ มาณเท่าไหร่ให้คำนวณ ถ้ามันยังได้น้อยอยู่ก็ให้เ ร่งมือเร่งตีนของเราให้เร็ว ๆ เข้า ก่อนจะหมดเวลา
คนเราไม่ใช่มันมีเวลามากนะ ๔๐ ปี ๕๐ ปี ...๘๐ ปี ๑๐๐ ปีนี่ไม่ใช่มันมากนะ แต่ว่ามันจะมากจะน้อยมันก็ไ ม่สำคัญ มันสำคัญอยู่ที่การกระทำ ขวนขวายทำคุณงามความดีมันให ้มาก เพื่อความเจริญ เพื่อความสุขของตนเอง ถ้ามีบุญมากอะไรมันก็ง่าย ก็เหมือนเราเก็บเงินเอาไว้ม ากหละ จะใช้จะซื้อหาอะไรมันก็ง่าย ถ้าไม่ทำบุญ ทำแต่บาปแต่กรรม อะไรมันก็ไม่ง่าย มันเกินเอื้อม มันสุดเอื้อม เอื้อมเท่าไหร่ก็ไม่ถึงแหละ ฉะนั้นคุณงามความดีจึงให้เร ่งสั่งสมไว้.." โอวาทธรรมคำสอนหลวงปู่สุวัฒ น์ อาจาโร หรือ หลวงปู่โส แห่งวัดป่าลัน (วัดป่าวัฒนา) อ.ฝาง
คนเราไม่ใช่มันมีเวลามากนะ ๔๐ ปี ๕๐ ปี ...๘๐ ปี ๑๐๐ ปีนี่ไม่ใช่มันมากนะ แต่ว่ามันจะมากจะน้อยมันก็ไ
“..อย่าคิดว่าการพิจารณาธรร มเพียงครั้งเดียวหรือเพียงว ันเดียวจะสำเร็จ ไม่ง่ายปานนั้นหรอก ต้องหมั่นเอาใจใส่โดยใช้อิท ธิบาทสี่ คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา ให้พิจารณาจี้ลงไป จี้ลงไป อย่าท้อแท้ท้อถอย การปฏิบัติแต่ละคนต้องช่วยเ หลือตนเอง ปฏิบัติเอาเอง ไม่มีใครช่วยได้ ไม่เหมือนกับสิ่งของที่เราห ยิบยื่นให้กันได้ ครูบาอาจารย์กว่าจะสอนธรรมะ แก่ลูกศิษย์ได้ต้องยอมทุ่มเ ท เอาชีวิตเข้าแลก..” โอวาทธรรมคำสอนหลวงพ่อทวี จิตฺตคุตฺโต วัดอรัญญวิเวก(วัดป่าลัน) อ.ดอยหลวง จ.เชียงราย
หลวงพ่อชายอมรับเราเป็นลูกศ
หลวงพ่อชาไม่เคยกลัวอาตมาสั กนิดเดียว
วันหนึ่ง อาตมากำลังนั่งคิด เรามองดูหลวงพ่อชา ตัวเล็กๆ นะ
แต่ในใจเรารู้สึกว่า หลวงพ่อชาใหญ่กว่าเรา
ท่านเป็นพระผู้ใหญ่จริงๆ รูปร่างไม่ใหญ่ ...
แต่เรามีความรู้สึกว่า ท่านใหญ่ ท่านเป็นผู้มีปัญญา
ปัญญาไม่มีขอบเขต ไม่มีอะไรที่จำกัดได้
มีแต่ร่างกายและจิตใจของเรา มีอวิชชาไม่รู้เรื่องอะไรเล ย
พระอาจารย์โรเบิร์ต สุเมโธ (พระราชสุเมธาจารย์)
วัดอมราวดี อังกฤษ See More
วันหนึ่ง อาตมากำลังนั่งคิด เรามองดูหลวงพ่อชา ตัวเล็กๆ นะ
แต่ในใจเรารู้สึกว่า หลวงพ่อชาใหญ่กว่าเรา
ท่านเป็นพระผู้ใหญ่จริงๆ รูปร่างไม่ใหญ่ ...
แต่เรามีความรู้สึกว่า ท่านใหญ่ ท่านเป็นผู้มีปัญญา
ปัญญาไม่มีขอบเขต ไม่มีอะไรที่จำกัดได้
มีแต่ร่างกายและจิตใจของเรา
พระอาจารย์โรเบิร์ต สุเมโธ (พระราชสุเมธาจารย์)
วัดอมราวดี อังกฤษ See More
"การเฝ้าดูจิต นี่แหละคือ การปฏิบัติของเรา
ซึ่งจะนำไปสู่ความไม่เห็นแก
หลวงปู่ชา สุภทฺโท — at @วัดหนองป่าพง.
เรื่องที่มีญาติโยมสงสัยกัน
เขาตอบว่า "เลี้ยงอยู่ครับ"
ท่านกล่าวว่า "โยมเลี้ยงหมาต้องพูดภาษาหม
เราเกิดขึ้นมากี่ภพกี่ชาติ ก็มาหัดสติตัวเดียวนี้ แต่ไม่สมบูรณ์กันสักที
เหตุนั้นควรที่พวกเราจะพากันรีบฝึกหัดสติแต่บัดนี้
เราจวนจะตายอยู่แล้ว ไม่ทราบว่าจะตายวันไหน
ควรที่จะฝึกหัดสติให้อยู่ในเงื้อมมือของตนให้ได้
อย่าให้จิตไปอยู่ในเงื้อมมือของความหลงมัวเมา...
ผู้ใดจิตไม่อยู่ในอำนาจของตนก็ได้ชื่อว่า เราเกิดมาเสียเปล่า ได้ฟังคำสอนของพระพุทธเจ้าเสียเปล่า ตายไปก็เปล่าจากประโยชน์
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
เหตุนั้นควรที่พวกเราจะพากันรีบฝึกหัดสติแต่บัดนี้
เราจวนจะตายอยู่แล้ว ไม่ทราบว่าจะตายวันไหน
ควรที่จะฝึกหัดสติให้อยู่ในเงื้อมมือของตนให้ได้
อย่าให้จิตไปอยู่ในเงื้อมมือของความหลงมัวเมา...
ผู้ใดจิตไม่อยู่ในอำนาจของตนก็ได้ชื่อว่า เราเกิดมาเสียเปล่า ได้ฟังคำสอนของพระพุทธเจ้าเสียเปล่า ตายไปก็เปล่าจากประโยชน์
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
คำว่า จิตไม่นิ่ง ก็คือ มันไม่ผ่องใสนั่นเอง แล้วมันก็บอกอยู่ชัดๆ แล้ว เนื้อความว่า กิเลส คือ ความเศร้าหมองของจิต จิตไม่นิ่งเพราะกิเลส มันก็เศร้าหมอง มันขุ่นมัว หลับตาดูจิตของเราเดี๋ยวนี้ ก็ได้
ถ้าจิตของเรายังฟุ้งซ่านส่ง โน่นส่งนี่อยู่ เรียกว่า มันกระเพื่อมอยู่ มันมีเศร้าหมอง จะไปชำระ จะไปเห็นเรื่องของจิตนั้นเป ็นไปไม่ได้
ครั้นจิตมันนิ่งแน่วลงไปแล้ ว กิเลสอะไรก็ช่างจะปรากฏขึ้น มาในที่นั่นเลย ถึงแม้จิตจ...ะแว๊บลงไปนิดเดียวก็ตาม มันเห็นเลย
หรือขณะที่จิตนิ่งอยู่ เมื่อจิตวูบวาบออกไปนิดเดีย วก็ตาม คือมันจะส่งออกไปหาอารมณ์อะ ไรที่เกิดขึ้น ย่อมเห็นในขณะที่จิตอยู่ในอ ารมณ์เดียวนั้น อันนี้เรียกว่า ตามรู้จิต เห็นจิต
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี See More
— at วัดหินหมากเป้ง.ถ้าจิตของเรายังฟุ้งซ่านส่ง
ครั้นจิตมันนิ่งแน่วลงไปแล้
หรือขณะที่จิตนิ่งอยู่ เมื่อจิตวูบวาบออกไปนิดเดีย
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี See More
โลกนี้จะมืดหรือสว่าง จะได้รับความสุขหรือความทุก
บุคคลจึงควรฝึกหัดจิตของตนๆ
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
วัดหินหมากเป้ง
จ.หนองคาย
บ่วงของมารได้แก่อะไร อาการของจิตที่เที่ยวไปตามอารมณ์นั้น ย่อมมีทั้งอารมณ์ดี และอารมณ์ร้าย จึงต้องมีความสุขบ้างทุกข์บ้างเป็นธรรมดา ตามวิสัยของปุถุชน จิตที่เที่ยวไปนั้นจะต้องประสบของ ๕ อย่าง คือ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะพะ ซึ่งเรียกว่า กามคุณ ๕ พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นบ่วงของมาร...
จิตของปุถุชนทั้งหลายเมื่อเที่ยวไปประสบอารมณ์ทั้ง ๕ นั้น หรือเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ทำให้เกิดความยินดีพอใจก็ดีหรือเกิดความเสียใจเป็นทุกข์ก็ดี เรียกว่าเข้าไปติดบ่วงของมารแล้ว คำว่า “ติด” ในที่นี้ หมายความว่า สลัดไม่ออก ปล่อยวางไม่ได้ บ่วงของมารผูกหลวม ๆ แต่แก้ไม่ได้ ถ้าดิ้นก็ยิ่งแต่จะรัดแน่นเข้า
จิตที่สำรวมได้แล้วจะพ้นจากบ่วงของมารได้อย่างไร ปุถุชนเบื้องต้นเมื่อเห็นโทษภัย ในการเข้าไปติดบ่วงของมารแล้ว จึงต้องพึงสำรวมในอายตนะทั้งหลาย มีตา หู เป็นต้น พระทศพลสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสว่า ใครสำรวมจิตได้แล้ว จักพ้นจากเครื่องผูกของมารดังนี้
ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นโคจรที่เที่ยวแสวงหาอารมณ์ของจิต เมื่อเราปิดคือ สำรวมมีสติ ระวังอย่าให้จิตหลงไปในอารมณ์ทั้ง ๖ นั้นได้แล้ว เป็นอันว่ามารผูกมัดเราด้วยบ่วงไม่ได้
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
จิตของปุถุชนทั้งหลายเมื่อเที่ยวไปประสบอารมณ์ทั้ง ๕ นั้น หรือเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ทำให้เกิดความยินดีพอใจก็ดีหรือเกิดความเสียใจเป็นทุกข์ก็ดี เรียกว่าเข้าไปติดบ่วงของมารแล้ว คำว่า “ติด” ในที่นี้ หมายความว่า สลัดไม่ออก ปล่อยวางไม่ได้ บ่วงของมารผูกหลวม ๆ แต่แก้ไม่ได้ ถ้าดิ้นก็ยิ่งแต่จะรัดแน่นเข้า
จิตที่สำรวมได้แล้วจะพ้นจากบ่วงของมารได้อย่างไร ปุถุชนเบื้องต้นเมื่อเห็นโทษภัย ในการเข้าไปติดบ่วงของมารแล้ว จึงต้องพึงสำรวมในอายตนะทั้งหลาย มีตา หู เป็นต้น พระทศพลสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสว่า ใครสำรวมจิตได้แล้ว จักพ้นจากเครื่องผูกของมารดังนี้
ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นโคจรที่เที่ยวแสวงหาอารมณ์ของจิต เมื่อเราปิดคือ สำรวมมีสติ ระวังอย่าให้จิตหลงไปในอารมณ์ทั้ง ๖ นั้นได้แล้ว เป็นอันว่ามารผูกมัดเราด้วยบ่วงไม่ได้
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
การฝึกหัดสมาธิภาวนา คือ การตั้งสติอันเดียว ให้รู้ตัวอยู่เสมอ มันคิดมันนึกอะไร ก็ให้รู้ตัวอยู่เสมอ ยิ่งรู้ตัวชัดเจนเข้ามันยิ่ งเป็น เอกัคคตารมณ์ นั่นแหละตัวสมาธิ
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
ขอจงตั้งใจทำให้จริงจัง และทำความเลื่อมใสพอใจในกัมมัฏฐานของตนให้แน่วแน่เต็มที่ ทำนิดเดียวก็จะเป็นผลยิ่งใหญ่ไพศาล เมื่อทำไปทุกๆวัน วันละนิดวันละหน่อย มันหากจะมีวันหนึ่งโดยที่เราไม่ได้ตั้งใจที่จะให้เป็น มันหากเป็นเอง คราวนี้ละ เราจะประสบโชคลาภอย่างอย่าบอกใครเลย ถึงบอกก็ไม่ถูก เป็นของรู้และซาบซึ้งเฉพาะตนเอง คำว่าภาวนาขี้เกียจและปวดเมื่อยแข้งขาจะหายไปเองอย่างปลิดทิ้ง จะมีแต่อยากทำภาวนา สมาธิอยู่ร่ำไป
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
จงทำกับเพื่อนมนุษย์โดยคิดว ่า
เขาเป็นเพื่อน เกิด แก่เจ็บ ตาย ของเรา
เขาเป็นเพื่อน เวียนว่ายอยู่ในวัฎฎสงสารด้ วยกันกะเรา
เขาก็ตกอยู่ใต้ อำนาจกิเลส เหมือนเรา ย่อมพลั้งเผลอไปบ้าง
เขาก็มีราคะ โทสะ โมหะ ไม่น้อยไปกว่าเรา...
เขาย่อมพลั้งเผลอบางคราว เหมือนเรา
เขาก็ไม่รู้ว่าเกิดมาทำไม เหมือนเรา ไม่รู้จักนิพพานเหมือนเรา
เขาโง่ในบางอย่าง เหมือนที่เราเคยโง่
เขาก็ตามใจ ตัวเองในบางอย่าง เหมือนที่เราเคยกระทำ
เขาก็อยากดี เหมือนเรา ที่อยาก ดี-เด่น-ดัง
เขาก็มักจะกอบโกย และ เอาเปรียบ เมื่อมีโอกาสเหมือนเรา
เขามีสิทธิที่จะบ้า ดี-เมาดี-หลงดี-จมดี เหมือนเรา
เขาเป็น คนธรรมดา ที่ยึดมั่น ถือมั่น อะไรต่างๆ เหมือนเรา
เขาไม่มี หน้าที่ ที่จะเป็นทุกข์ หรือตายแทนเรา
เขาเป็น เพื่อน ร่วมชาติ ร่วมศาสนา กะเรา
เขาก็ ทำอะไร ด้วย ความคิดชั่วแล่น และ ผลุนผลัน เหมือนเรา
เขามี หน้าที่ รับผิดชอบ ต่อครอบครัวของเขา มิใช่ของเรา
เขามีสิทธิ ที่จะมีรสนิยม ตามพอใจของเขา
เขามีสิทธิ ที่จะเลือก ( แม้ศาสนา ) ตามพอใจของเขา
เขามีสิทธิ ที่จะใช้ สมบัติ สาธารณะ เท่ากันกับเรา
เขามีสิทธิ ที่จะเป็นโรคประสาท หรือเป็นบ้า เท่ากับเรา
เขามีสิทธิ ที่จะขอความช่วย เหลือ เห็นอกเห็นใจ จากเรา
เขามีสิทธิ ที่จะได้รับอภัย จากเรา ตามควรแก่กรณี
เขามีสิทธิ ที่จะเป็นสังคมนิยม หรือ เสรีนิยม ตามใจเขา
เขามีสิทธิ ที่จะเห็นแก่ตัว ก่อนเห็นแก่ผู้อื่น
เขามีสิทธิ แห่งมนุษย์ชน เท่ากัน กับเรา , สำหรับจะอยู่ในใลก
....ถ้าเราคิดกันอย่างนี้ จะไม่มีการ ขัดแย้งใดๆเกิดขึ้น
พุทธทาส อินทปัญโญ
เขาเป็นเพื่อน เกิด แก่เจ็บ ตาย ของเรา
เขาเป็นเพื่อน เวียนว่ายอยู่ในวัฎฎสงสารด้
เขาก็ตกอยู่ใต้ อำนาจกิเลส เหมือนเรา ย่อมพลั้งเผลอไปบ้าง
เขาก็มีราคะ โทสะ โมหะ ไม่น้อยไปกว่าเรา...
เขาย่อมพลั้งเผลอบางคราว เหมือนเรา
เขาก็ไม่รู้ว่าเกิดมาทำไม เหมือนเรา ไม่รู้จักนิพพานเหมือนเรา
เขาโง่ในบางอย่าง เหมือนที่เราเคยโง่
เขาก็ตามใจ ตัวเองในบางอย่าง เหมือนที่เราเคยกระทำ
เขาก็อยากดี เหมือนเรา ที่อยาก ดี-เด่น-ดัง
เขาก็มักจะกอบโกย และ เอาเปรียบ เมื่อมีโอกาสเหมือนเรา
เขามีสิทธิที่จะบ้า ดี-เมาดี-หลงดี-จมดี เหมือนเรา
เขาเป็น คนธรรมดา ที่ยึดมั่น ถือมั่น อะไรต่างๆ เหมือนเรา
เขาไม่มี หน้าที่ ที่จะเป็นทุกข์ หรือตายแทนเรา
เขาเป็น เพื่อน ร่วมชาติ ร่วมศาสนา กะเรา
เขาก็ ทำอะไร ด้วย ความคิดชั่วแล่น และ ผลุนผลัน เหมือนเรา
เขามี หน้าที่ รับผิดชอบ ต่อครอบครัวของเขา มิใช่ของเรา
เขามีสิทธิ ที่จะมีรสนิยม ตามพอใจของเขา
เขามีสิทธิ ที่จะเลือก ( แม้ศาสนา ) ตามพอใจของเขา
เขามีสิทธิ ที่จะใช้ สมบัติ สาธารณะ เท่ากันกับเรา
เขามีสิทธิ ที่จะเป็นโรคประสาท หรือเป็นบ้า เท่ากับเรา
เขามีสิทธิ ที่จะขอความช่วย เหลือ เห็นอกเห็นใจ จากเรา
เขามีสิทธิ ที่จะได้รับอภัย จากเรา ตามควรแก่กรณี
เขามีสิทธิ ที่จะเป็นสังคมนิยม หรือ เสรีนิยม ตามใจเขา
เขามีสิทธิ ที่จะเห็นแก่ตัว ก่อนเห็นแก่ผู้อื่น
เขามีสิทธิ แห่งมนุษย์ชน เท่ากัน กับเรา , สำหรับจะอยู่ในใลก
....ถ้าเราคิดกันอย่างนี้ จะไม่มีการ ขัดแย้งใดๆเกิดขึ้น
พุทธทาส อินทปัญโญ
กลับมาเถิด ศีลธรรม กลับมาเถิด!
กำลังเกิด ภัยร้าย อันใหญ่หลวง
แก่สัตว์โลก ทั่วถิ่น จักรวาลปวง
น่าเป็นห่วง ความพินาศ ฉกาจเกิน
...
กลับมาเถิด ศีลธรรม กลับมาเถิด!
ในโลกเกิด กลียุค อย่างฉุกเฉิน
หลงวัตถุ บ้าคลั่ง เกินบังเอิญ
มัวเพลิดเพลิน สิ่งกาลี มีกำลัง
กลับมาเถิด ศีลธรรม กลับมาเถิด!
ความเลวร้าย ลามเตลิด จวนหมดหวัง
รีบกลับมา ทันเวลา พาพลัง
มายับยั้ง โลกไว้ ให้ทันกาล ฯ
พุทธทาสภิกขุ
กำลังเกิด ภัยร้าย อันใหญ่หลวง
แก่สัตว์โลก ทั่วถิ่น จักรวาลปวง
น่าเป็นห่วง ความพินาศ ฉกาจเกิน
...
กลับมาเถิด ศีลธรรม กลับมาเถิด!
ในโลกเกิด กลียุค อย่างฉุกเฉิน
หลงวัตถุ บ้าคลั่ง เกินบังเอิญ
มัวเพลิดเพลิน สิ่งกาลี มีกำลัง
กลับมาเถิด ศีลธรรม กลับมาเถิด!
ความเลวร้าย ลามเตลิด จวนหมดหวัง
รีบกลับมา ทันเวลา พาพลัง
มายับยั้ง โลกไว้ ให้ทันกาล ฯ
พุทธทาสภิกขุ