ลักษณะของจิตที่ตั้งมั่น หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช
แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม
จิตที่ตั้งมั่นขึ้นมาจะมีลั กษณะที่เบา มีลักษณะที่นุ่มนวลอ่อนโยน มีลักษณะที่ปราดเปรียวว่องไ ว ไม่หนักไม่แน่นไม่แข็งไม่ซึ มไม่ทื่อ
ถ้านั่งสมาธิแล้วจิตแน่นจิต แข็งจิตซึมจิตทื่อ ให้รู้เลยว่าเป็นมิจฉาสมาธิ แล้วล่ะนะ นอกรีตนอกรอยแล้ว ไม่ใช่สมาธิในทางศาสนาพุทธแ ล้ว หรือนั่งแล้วเคลิ้มง่อกๆแง่ กๆขาดสตินะ ใช้ไม่ได้เลย จิตไม่ได้มีความคล่องแคล่วว ่องไวควรแก่การงาน จิตสะลึมสะลือ หรือจิตเที่ยว...เห็นโน้นเห็นนี่ออกข้างนอกไ ป จิตไม่อยู่กับฐาน สิ่งเหล่านี้ใช้ไม่ได้ทั้งส ิ้นเลย
ถ้าเรามีสมาธิที่ถูกต้องเนี ่ย จิตจะมีความตั้งมั่นอยู่กับ ตัวเอง จิตตั้งมั่นอยู่กับจิต เรียกว่าจิตใจอยู่กับเนื้อก ับตัว ถ้าจิตใจอยู่กับเนื้อกับตัว นะ จิตหนีไปเมื่อไหร่มันก็ลืมก ายลืมใจ มีร่างกายก็ลืมร่างกาย มีจิตใจก็ลืมจิตใจ แต่ถ้าเรารู้ทันจิตที่ไหลไป นะ จิตจะตั้งมั่น จิตใจจะอยู่กับเนื้อกับตัว จิตจะเบาสบาย นุ่มนวล อ่อนโยน คล่องแคล่วว่องไว มีความสุขความสงบอยู่ในตัวเ อง จิตจะถอยตัวออกมาจากรูปธรรม นามธรรม เพราะไม่ไหลเข้าไปในปรากฏกา รณ์ทั้งหลาย จิตจะถอยตัวออกมาเป็นคนดู
แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม
จิตที่ตั้งมั่นขึ้นมาจะมีลั
ถ้านั่งสมาธิแล้วจิตแน่นจิต
ถ้าเรามีสมาธิที่ถูกต้องเนี
การกําหนดพุทโธ นั้นเป็นอุบายของท่านผู้สอน ที่ต้องการจะให้จิตมีที่ยึด มั่นเอาไว้กับพุทโธด้วยอีก อย่างหนึ่ง เป็นวิธีที่เหมาะสําหรับผู่ ที่จิตว่อกแว่กมาก จะทําให้ จิตมีที่ยึดเพิ่มไปยึดพุทโ ธไว้แทน ทําให้ว่อกแว่กน้อยลง แต่การที่จะกําหนดพุทโธหรื อไม่ ก็ขอให้ขึ้นกับจริตของแต่ละ คน เพราะคําว่าพุทโธช่วยให้จิ ตตั้งมันเพียงอย่างเดียว แต่จุดที่สําคัญกว่า คือได้ตามรู้ลมหายใจหรือตาม รู้ความรู้สึกตัว หรือดูกายดูใจประกอบไปด้วยหรือเปล่า ถ้าท่องแต่เพียงพุทโธแล้วไ ม่ได้ตามดูลมหายใจไปด้วย เท่ากับว่าเรากําลังทิ้งการ เจริญสติปัฏฐาน ไป แล้วไปท่องเพ่งเป็นสมถะแต่เ พียงพุทโธเท่านั้น ซึงการเจริญในสติปัฏฐาน นั้นมีความสําคัญมากกว่ามาก ๆ แต่ทั้งนี้ต้องดูให้ดีนะ ท่านผู้สอนอาจต้องการสอนกับ บุคคลใดคนหนึ่งโดยเฉพาะเลยใ ห้ทําอย่างนั้นเพื่อประโยชน ์อันเป็นเฉพาะกับคนๆนั้น ที่นี้คนอื่นไปฟังมาแล้วไปค ิดว่า ต้องทําอย่างนี้ตามจึงดี แต่จริงๆแล้วอาจไม่เหมาะกับ จริตเราก็ได้ หรือคนอื่นๆก็ได้ สําหรับตัวผู้เขียนเห็นว่ากา รตามรู้ลมหายใจของเราหรือกา รตามรู้ความรู้สึกตามรู้กาย มีความสําคัญกว่าและก็ ละการท่องพุทโธ หรือคําบริกรรมอื่นใดทั้งหม ด แม้แต่ขณะทําสมาธิก็ตาม แต่ผมกล่าวอย่างนี้ไม่ใช่กา รใช้คําบริกรรมไม่ดีนะ เพียงแต่ดีและเหมาะกับผู้ใด มากกว่า ผู้สอนที่มีฌาณสูงๆมักจะดูแ ละเห็นแล้ว คนกลุ่มไหน เหมาะกับอะไร
เคล็ดลับของสมถกรรมฐาน
หลวงพ่อปราโมทย์ : ธรรมะของพระพุทธเจ้า เป็นไปเพื่อความมักน้อย(สมถ ะ – ผู้ถอด) เพื่อความสันโดษ(พอเพียง ยินดีในสิ่งที่ตนมี ในสิ่งที่ตนได้มาตามความชอบ ธรรม ประกอบด้วยศีลด้วยธรรม ตามกฎหมาย – ผู้ถอด) เพื่อความไม่คลุกคลี(วิเวก – ไม่คลุกคลีด้วยอกุศล ด้วยกิเลส เว้นแต่ทำตามหน้าที่อันสมคว รแก่ธรรม สมควรตามความรับผิดชอบ – ผู้ถอด) เป็นเพื่อความพัฒนาของศีล เป็นไปเพื่อความมีสมาธิ
สมาธิมี ๒ ชนิด สมาธิชนิดที่ ๑ จิตสงบในอารมณ์อันเดียว จิตใจของเราโดยปกตินี้ฟุ้งซ ่านอยู่ตลอดเวลา มันวิ่งไปทางตาทางหูทางจมูก ทางลิ้นทางกายทางใจ วิ่งไปหาอารมณ์ที่เพลิดเพลิ นพอใจ กลุ้มใจขึ้นมาก็ไปดูหนัง อยากจะมีความสุขวิ่งไปดูหนั ง ดูแล้วยังไม่หายกลุ้มวิ่งไป ฟังเพลง ฟังเพลงแล้วหิวอีกแล้วก็วิ่ งไปหาอะไรกินอีก จิตใจนี้จะวิ่งพล่าน พล่าน พล่าน พล่าน ไปตลอดเวลาเลย เรียกว่าใจฟุ้งซ่าน
ถ้าต้องการฝึกสมาธิให้ใจสงบ นะ เรามารู้จักเลือกอารมณ์ ถ้าจิตของเราอยู่ในอารมณ์ชน ิดไหนที่มันไม่ยั่วกิเลส เป็นอารมณ์ที่ดี อยู่กับอารมณ์ชนิดนั้นแล้วม ีความสุข จุดสำคัญอยู่ที่ว่า เลือกอารมณ์ที่มีความสุขมาเ ป็นเครื่องอยู่ของจิต เมื่อจิตได้อยู่ในอารมณ์ที่ มีความสุขอันเดียวนะ จิตจะไม่วิ่งพล่านไปหาอารมณ ์อื่นๆ จิตก็สงบ นี่คือหลักของสมถกรรมฐาน เคล็ดลับมีเท่านี้เอง ที่นั่งสมาธิกันปางตาย ทำแล้วยังไงก็ไม่สงบ ก็เพราะไม่รู้เคล็ดลับ หลวงพ่อนั่งสมาธิเป็นตั้งแต ่ ๗ ขวบ นะ ก็เลยสรุปเคล็ดลับได้ว่าเรา ต้องอยู่กับอารมณ์ที่มีความ สุข
อย่างหลวงพ่อตั้งแต่เด็กๆเน ี่ย หายใจเข้าพุท หายใจออกโธ อยู่กับลมหายใจนะ มีความสุข หายใจแล้วมีความสุข หายใจแล้วมีความสุข ใจก็ไม่ฟุ้งไปที่อื่นเลย ใจก็จะอยู่สงบอยู่กับลมหายใ จ ลมหายใจกลายเป็นแสงไป ลมก็สว่างกลายเป็นแสงสว่าง เป็นดวงสว่างขึ้นมา ก็สงบอยู่กับแสง นี่คือหลักของการทำสมาธิ (หมายถึง สมถกรรมฐาน – ผู้ถอด)
สมาธิบางอย่างไม่มีแสงนะ ไม่มีดวงนิมิตร อย่างการเจริญเมตตาเนี่ย เราแผ่เมตตาไปเรื่อย จะไม่มีดวงปฏิภาคนิมิตรเกิด ขึ้น จิตก็ทำความสงบปราณีตได้ คนไหนขึ้โมโห ก็แผ่เมตตาไปเรื่อยๆ เวลาที่แผ่เมตตาไม่ต้องไปเค ้นเมตตาออกจากใจ แผ่ๆ อย่างนี้นะ ไม่ไปหรอก เมตตานะ แต่ถ้าจะแผ่ก็นั่งนึกเอา นั่งนึกเอา “สัตว์ทั้งหลายจงเป็นสุขเป็ นสุขเถิด อย่าได้มีเวรซึ่งกันและกันเ ลย ขอให้สัตว์ทั้งหลายได้รับส่ วนบุญที่เราทำแล้วทั้งหมดด้ วยเถิด ทุกๆคน ทุกๆคน เลย” เนี่ยนึกไปเรื่อยนะ นึกอย่างนี้เรื่อยๆ บริกรรมไปเรื่อยๆ เดี๋ยวใจก็จะค่อยๆเย็นขึ้นม า ใจค่อยสงบสบาย พวกขี้โมโหนะ แผ่เมตตาไปเรื่อยๆ แผ่ทั้งวันเลยก็ได้ ใจมันจะค่อยเย็นๆมีความสุขข ึ้นมา
คนขี้โลภ พวกราคะมากอะไรอย่างนี้ จะพิจารณาร่างกาย ดูร่างกายเป็นส่วนๆ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก ของไม่สวยไม่งาม พิจารณาไปเรื่อย ใจก็สงบจากราคะ ไม่ฟุ้งไป
ใจโกรธก็คือใจมันฟุ้งไป กระทบอารมณ์แล้วไม่พอใจ ในโลภก็คือมันฟุ้งไป ไปกระทบอารมณ์แล้วพอใจ ใจหลงก็คือใจมันฟุ้งไปตามอา รมณ์ต่างๆ เพราะฉะนั้นหากว่าคนไหนขี้ห ลง ใจลอยบ่อยอะไรบ่อยนะ หายใจไปรู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป พอจิตหนีไปแล้วก็รู้เอา ใจก็ค่อยสงบสบายอยู่ในอารมณ ์อันเดียว ถ้าน้อมใจให้ไปอยู่ในอารมณ์ อันเดียวที่มีความสุขได้ล่ะ ก็ สมาธิก็เกิด ได้สมาธิชนิดที่ ๑
สมาธิชนิดที่ ๑ เป็นสมาธิที่จิตสงบในอารมณ์ อันเดียว เรียกว่า “อารัมณูปนิชฌาน” อารัมณะ ก็คือคำว่า อารมณ์นั่นเอง คนไทยไปตัดไม้หันอากาศออก ถ้าภาษาที่ถูกก็คือ อารัมณะ ยกตัวอย่างพระอานนท์นะ คนไทยเรียกพระอานนท์เนี่ย ถ้าเราย้อนขึ้นไทม์แมชชีนไป วัดเชตวัน ไปถามหาพระอานนท์ จะไม่มีใครรู้จักเลย ต้องถามหาพระอานันท์ เนี่ยเขาตัดไม้หันอากาศออกไ ป คนไทย
เพราะฉะนั้นอารัมณูปนิชฌานน ะ ให้จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเด ียว จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว ได้เพราะจิตรู้จักเลือกอารม ณ์ที่มีความสุข ถ้าทำได้นะ จิตใจก็มีความสุข ร่มเย็นเป็นสุข ไม่เครียด ไม่เครียดเลย แต่ว่าไม่เดินปัญญา
หลวงพ่อปราโมทย์ : ธรรมะของพระพุทธเจ้า เป็นไปเพื่อความมักน้อย(สมถ
สมาธิมี ๒ ชนิด สมาธิชนิดที่ ๑ จิตสงบในอารมณ์อันเดียว จิตใจของเราโดยปกตินี้ฟุ้งซ
ถ้าต้องการฝึกสมาธิให้ใจสงบ
อย่างหลวงพ่อตั้งแต่เด็กๆเน
สมาธิบางอย่างไม่มีแสงนะ ไม่มีดวงนิมิตร อย่างการเจริญเมตตาเนี่ย เราแผ่เมตตาไปเรื่อย จะไม่มีดวงปฏิภาคนิมิตรเกิด
คนขี้โลภ พวกราคะมากอะไรอย่างนี้ จะพิจารณาร่างกาย ดูร่างกายเป็นส่วนๆ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก ของไม่สวยไม่งาม พิจารณาไปเรื่อย ใจก็สงบจากราคะ ไม่ฟุ้งไป
ใจโกรธก็คือใจมันฟุ้งไป กระทบอารมณ์แล้วไม่พอใจ ในโลภก็คือมันฟุ้งไป ไปกระทบอารมณ์แล้วพอใจ ใจหลงก็คือใจมันฟุ้งไปตามอา
สมาธิชนิดที่ ๑ เป็นสมาธิที่จิตสงบในอารมณ์
เพราะฉะนั้นอารัมณูปนิชฌานน
การทําสมาธิ คือการทําที่จิต ไม่ใช่กระทําที่กาย เพียงแต่ใช้กายเป็นอุปกรณ์ใ นการทํา ดังนั้นการทําสมาธิไม่จําเป ็นต้องไปนั่งนิ่งๆหลับตาเสม อไป เราลืมตาและทํากิจวัตรประจํ าวันอยู่ ก็ทําสมาธิได้ ขอเพียงให้จิตเราตั้งมั่นอย ู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง นั้นแหละคือเป็นสมาธิแล้ว
จิตมีความไวมากต่อกันเป็นเห มือนลูกโซ่ และจิตนั้นแหะะที่ย้อนกลับม าดูจิตเอง " จิตเห็นจิต " ตอนที่ย้อนกลับมาดูได้ครั้ง แรก สิ่งที่เห็นคือโล่งๆ ว่างๆเท ่านั้นไม่มีอะไรตรงนั้นเลย นอกจากรู้ที่มีกับสิ่งที่ไป รู้ "ตอนแรกยอมรับว่าไม่เข้าใจ ตกใจเลยว่าทําไมไม่มีตัว แล้วมันรู้ได้ยังไงเอาอะไรไ ปรู้ ว่างๆ นี้เหรอแล้วตัวหายไปไหน แล้วอะไรเป็นตัวไปรู้" หลุดไปคิดแล้วหลุดออกมาจากส มาธิเลย นั่งถามตัวเองอยู่นานแล้วเข ้ากลับไปดูใหม่ ก็เห็นเหมือนเดิมคือไม่เ ห็นอะไร เห็นแต่โล่งๆว่างๆ มีแต่รู้กับสิ่งที่ไปรู้ นั่งไม่รู้และถามตัวเองอยู่ เป็นอาทิตย์ ถามยังไงก็ตอบตัวเองไม่ได้ส ักที ไปโพสต์ถามในกลุ่มปฏิบัติก็ ยังไม่ชัดเจนกับตนเอง จนตอนหลังฉุกคิดขึ้นได้ว่า เราพยายามจะหาคําตอบมากไปเล ยไม่ได้คําตอบสักที เลยเปลี่ยนกลับมาทําสมาธิแบ บไม่อยากรู้ไม่สงสัยต่อ ทําไปได้อีกเกือบเดือนถึงค่ อยๆ รู้เองว่าที่เห็นไม่มีอะไรน ะ คือจิตที่มันวนกลับมาดูตัว เอง แล้วตัวจิตเองนั้นแหละที่โล ่งๆ ว่างๆไม่มีอะไร ถึงรู้ได้ด้วยตนเองว่า ตัวผู้รู้ไม่มี มีแต่รู้ กับสิ่งที่ไปรู้ เท่านั้น
"นั่งดูมันไป ไม่มีอะไรให้ยึดเอา ดู กาย ดู ใจ เห็นมันไม่ใช่เรา สักแต่ว่ารู้ ไม่มีอะไร เข้ามาเกาะจิตเกาะใจเราได้อ
คําพูดนี้ดูแล้วก็เป็นคําสอ
เมื่อปฏิบัติไปถึงจุดหนึ่ง แรงดึงของกิเลสตัณหาพวกนี้ม ันจะมีผลสูงกว่าคนปกติมากนั ก เหมือนข้อสอบมหาลัยครับ ย่อมที่จะยากกว่าข้อสอบประถ มมากนัก ถ้าสอบผ่านคุณค่าในตนก็จะสู งมากๆๆ กว่าข้อสอบระดับประถม ถ้าไม่ผ่านก็ วนกันต่อไปครับ ภพชาติไม่จบสิ้น คิดหรอครับว่าจะได้เป็นพระอ รหันต์ด้วย บททดสอบธรรมดา ทรมานมากครับเวลาสู้กับกิเล สตัณหาเนี้ย ต่อให้เหนือเหตุผลได้ปัญญาญ าณไปแล้วด้วย ให้เห็นไม่มีเพศ ไม่มีชายไม่มีหญิงไปแล้วด้วย แต่สภาวะที่ได้ หรืออารมณ์ที่ไร้อารมณ์ในวิ มุตติที่ได้ มันเป็นสภาวะที่ยังมาเป็นช่ วงๆ ไม่ได้มาอยู่กับเราตลอด ยังไม่ถาวร ขึ้นกับว่าเราเดินถึงตรงไหน เพราะถ้าถาวรเราก็เป็นพระอร หันต์ไปแล้ว ในบางช่วงที่สภาวะไม่ดํารงอ ยู่ แล้วเจอทดสอบนั้น ทรมานมาก เพราะช่วงนั้นปัญญารู้และสต ิมันอ่อนกําลังลง และสู้กับความคิดของตนเองไม ่ไหว กายนี้ร้อนแทบจะเป็นไฟ แทบจะแตกเป็นเสี่ยงๆ ผลที่เกิดกับกายกับใจนั้นมา กและทรมานมากกว่าคนปกติหลาย เท่านั้น
อานาปานสติบริบูรณ์ ย่อมทำสติปัฏฐานให้บริบูรณ์
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ก็อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแล้ว
ทำให้มากแล้ว อย่างไรเล่า
จึงทำ สติปัฏฐานทั้ง ๔ ให้บริบูรณ์ได้ ?
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยใด ภิกษุ...
เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว ,
เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกยาว;
เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าสั้ น,
เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกสั้น ;
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ ่งกายทั้งปวง หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ ่งกายทั้งปวง หายใจออก”;
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้ร ำงับอยู่ หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้ร ำงับอยู่ หายใจออก”;
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อว่า เป็นผู้ตามเห็นกายในกายอยู่ เป็นประจำ
เป็นผู้มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ สียได้.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้าและ ลมหายใจออก
ว่าเป็นกายอย่างหนึ่ง ๆ ในบรรดากายทั้งหลาย.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้น
ย่อมชื่อว่า เป็นผู้ตามเห็นกายในกายอยู่ เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส
มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ สียได้.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยใด ภิกษุ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ ่งปีติ หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ ่งปีติ หายใจออก”;
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ ่งสุข หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ ่งสุขหายใจออก”;
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ ่งจิตตสังขาร หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ ่งจิตตสังขาร หายใจออก”;
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้ รำงับอยู่ หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้ รำงับอยู่” หายใจออก”;
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อว่า
เป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนา ทั้งหลายอยู่เป็นประจำ
เป็นผู้มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ สียได้.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เราย่อมกล่าวว่า
การทำในใจเป็นอย่างดีถึงลมห ายใจเข้า และลมหายใจออก
ว่าเป็นเวทนาอย่างหนึ่งๆ ในบรรดาเวทนาทั้งหลาย.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะ
เหตุนั้น ในกรณีนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู ้ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหล ายอยู่เป็นประจำ
มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ สียได้.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยใด ภิกษุ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ ่งจิต หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ ่งจิตหายใจออก”;
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ปราโมทย ์ยิ่งอยู่ หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ปราโมทย ์ยิ่งอยู่ หายใจออก”;
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ตั้งมั่ นอยู่ หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ตั้งมั่ นอยู่หายใจออก”;
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอย ู่ หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอย ู่หายใจออก”;
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อว่า เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ
เป็นผู้มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ สียได้.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เราไม่กล่าวว่าอานาปานสติ
เป็นสิ่งที่มีได้แก่บุคคลผู ้มีสติอันลืมหลงแล้ว ผู้ไม่มีสัมปชัญญะ.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้น
ย่อมชื่อว่า เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิตอยู่ เป็นประจำ
มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ สียได้.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยใด ภิกษุ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความไม่ เที่ยงอยู่เป็นประจำ หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความไม่ เที่ยงอยู่เป็นประจำ หายใจออก”;
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความจาง คลายอยู่เป็นประจำ หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความจาง คลายอยู่เป็นประจำ หายใจออก”;
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความดับ ไม่เหลืออยู่เป็นประจำ หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความดับ ไม่เหลืออยู่เป็นประจำ หายใจออก”;
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความสลั ดคืนอยู่เป็นประจำ หายใจเข้า”,
ว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความสลั ดคืนอยู่เป็นประจำ หายใจออก”;
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อว่า
เป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั ้งหลายอยู่เป็นประจำ
มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ สียได้.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ภิกษุนั้น เป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะเป็น อย่างดีแล้ว
เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและ โทมนัสทั้งหลายของเธอนั้นด้ วยปัญญา.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้
ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู ้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ
มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ สียได้.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแล้ว
ทำให้มากแล้วอย่างนี้แล ย่อมทำสติปัฏฐานทั้ง ๔ ให้บริบูรณ์ได้.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ก็อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแล้ว
ทำให้มากแล้ว อย่างไรเล่า
จึงทำ สติปัฏฐานทั้ง ๔ ให้บริบูรณ์ได้ ?
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยใด ภิกษุ...
เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว
เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกยาว;
เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าสั้
เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกสั้น
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ
ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้ร
ว่า “เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้ร
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อว่า เป็นผู้ตามเห็นกายในกายอยู่
เป็นผู้มีความเพียรเผากิเลส
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้าและ
ว่าเป็นกายอย่างหนึ่ง ๆ ในบรรดากายทั้งหลาย.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้น
ย่อมชื่อว่า เป็นผู้ตามเห็นกายในกายอยู่
มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยใด ภิกษุ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ
ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ
ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ
ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้
ว่า “เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อว่า
เป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนา
เป็นผู้มีความเพียรเผากิเลส
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เราย่อมกล่าวว่า
การทำในใจเป็นอย่างดีถึงลมห
ว่าเป็นเวทนาอย่างหนึ่งๆ ในบรรดาเวทนาทั้งหลาย.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะ
เหตุนั้น ในกรณีนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู
มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยใด ภิกษุ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ
ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ปราโมทย
ว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ปราโมทย
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ตั้งมั่
ว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ตั้งมั่
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอย
ว่า “เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอย
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อว่า เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ
เป็นผู้มีความเพียรเผากิเลส
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เราไม่กล่าวว่าอานาปานสติ
เป็นสิ่งที่มีได้แก่บุคคลผู
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้น
ย่อมชื่อว่า เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิตอยู่
มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยใด ภิกษุ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความไม่
ว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความไม่
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความจาง
ว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความจาง
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความดับ
ว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความดับ
ย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความสลั
ว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่งความสลั
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อว่า
เป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั
มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ภิกษุนั้น เป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะเป็น
เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและ
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้
ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู
มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเ
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแล้ว
ทำให้มากแล้วอย่างนี้แล ย่อมทำสติปัฏฐานทั้ง ๔ ให้บริบูรณ์ได้.
ดวงตา...เห็นธรรม
"ใจที่รู้ นั่นแหละคือ ใจที่สงบ
ใจที่ไม่รู้ นั่นแหละคือ ใจที่หลง
อย่าไปกลัวจะไม่สงบ...
อย่าไปบังคับใจไม่ให้คิด
เรื่องใจมันเป็นอนัตตา
สิ่งที่หลายทั้งปวงบังคับบั ญชาไม่ได้
มันจะสงบ อ๋อ! เราบังคับไม่ได้ มันสงบเอง
คนที่ภาวนาแล้วไปบังคับให้ส งบ ไม่ให้มันคิด
นั่นแหละ! จะไม่มีวันรู้จัก "อนัตตา" เลย
ถ้าเห็นอนัตตาบ่อยๆ นี่ มันเข้าถึงธรรมได้นะ
จะเข้าถึงธรรมได้ ต้องเข้าถึงความจริงที่
กายจิตแสดงออกมา ยอมรับ และแก้ไข
ปรับปรุงไปตามหน้าที่ แม้ใจไม่อยากให้เป็น
ก็ อ๋อ! มันเป็นเรื่องของใจ ไม่ใช่เรื่องของเรา
ต้องเด็ดขาดลงไปอย่างนี้ ถึงจะได้ ดวงตา-
เห็นธรรม ไม่เช่นนั้นจะได้ ดวงตาหลงทาง"
"ใจที่รู้ นั่นแหละคือ ใจที่สงบ
ใจที่ไม่รู้ นั่นแหละคือ ใจที่หลง
อย่าไปกลัวจะไม่สงบ...
อย่าไปบังคับใจไม่ให้คิด
เรื่องใจมันเป็นอนัตตา
สิ่งที่หลายทั้งปวงบังคับบั
มันจะสงบ อ๋อ! เราบังคับไม่ได้ มันสงบเอง
คนที่ภาวนาแล้วไปบังคับให้ส
นั่นแหละ! จะไม่มีวันรู้จัก "อนัตตา" เลย
ถ้าเห็นอนัตตาบ่อยๆ นี่ มันเข้าถึงธรรมได้นะ
จะเข้าถึงธรรมได้ ต้องเข้าถึงความจริงที่
กายจิตแสดงออกมา ยอมรับ และแก้ไข
ปรับปรุงไปตามหน้าที่ แม้ใจไม่อยากให้เป็น
ก็ อ๋อ! มันเป็นเรื่องของใจ ไม่ใช่เรื่องของเรา
ต้องเด็ดขาดลงไปอย่างนี้ ถึงจะได้ ดวงตา-
เห็นธรรม ไม่เช่นนั้นจะได้ ดวงตาหลงทาง"
หลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่ พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช ้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั ้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเน ิ่นช้าหรือไม่ช้า
ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธร รม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพีย ร ต้อง...รู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้ แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ
มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุด เลย
สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต ้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ
มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดห น่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย
ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เร าจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็ มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ
บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่ างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประ สบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประส บการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศู นย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต ้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้ วนะ
มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้
ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุ กคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี ่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงไ ด้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสน มหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลีไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ
เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุ กข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกั บคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปค ุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแ ชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่ รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอด เวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่ นช้า
นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเ ป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไ ปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า
ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบ คนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วย กันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก ็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น
เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมา เพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารั กนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย
เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพีย งชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั ่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่ งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่ งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว
งานหลักของเราจริงๆคืองานยก ระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดี ยว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุ ประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอ ะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอ นเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำ มาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออี กนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไ ปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒน าตัวเองแล้วนะ
เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้า เอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลย นะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรว ดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก
มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ค วามจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือกา รเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเอง เท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจ ริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเ รียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลย ของการปฏิบัติ
มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหร ือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็ น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอ ยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเ ยอะแยะเลยนะ ถมเถไป
เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัติ นะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอ ะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุ กสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่าน ั้น
พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้ นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับ ปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวร ณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบัน นี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลง เพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ
พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเด ียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละ นะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้ม ามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึก ใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้ค นอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมข องพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจ จุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว
เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่ จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็น ลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกิน พระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะน ะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไ รพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธ รรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ
ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่า ๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญ ญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ
นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึง ว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา
สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว
พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้น ในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆ เกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดั บไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจข องเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก
เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้ งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่าน ั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อ นไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อ นไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งห ลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด
เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของส ติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง
ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุ ศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู ้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเ นี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้ อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั ้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้ งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน
งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโ กรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรไ ด้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เก ิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโ กรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียม ันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้ นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้ วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาด สติมากขึ้น
เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้อ อีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล
มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน
สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีส มาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ
ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอ น ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่า งรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำล ังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ
การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตา หูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวล าเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดร ู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที ่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื ้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตั วของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่ านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อย ที่สุด
เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ
พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมั นทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็ เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็ เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ
เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับ ไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไ ป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือ จะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้
การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเ นี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า
แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัว เองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลัก ษณ์ ยังไงก็ช้า
เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เ นิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองใ ห้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไ ป เจริญสติไป
หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช
วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี
รูปพระปฐมเจดีย์ ในอดีต ที่จังหวัดนครปฐม
ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธร
มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ
สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต
มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดห
ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เร
บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่
มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้
ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุ
เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุ
นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเ
ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น
เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมา
เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพีย
งานหลักของเราจริงๆคืองานยก
เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้า
มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ค
มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหร
เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัติ
พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้
พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเด
เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่
ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่า
นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ
สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว
พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้น
เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย
เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของส
ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุ
งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโ
เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้
มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน
สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ
ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอ
การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตา
เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ
พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมั
เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับ
การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเ
แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็
เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เ
หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช
วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี
รูปพระปฐมเจดีย์ ในอดีต ที่จังหวัดนครปฐม
ให้แค่รู้ แล้วอย่าเข้าไปในความคิด ถ้าเข้าไปในความคิด จะทําให้ความคิดใหญ่โตขึ้น ไอ้ความคิดที่คิดถึงหรืออาร
เผลอเข้าไปในความคิด ไม่ละความคิด โดยเอาสติมาไว้กับกายใจตนเอ
เอาสติช่วย (สติก็คือสติปัฏฐาน4) นะ โดยการเอาใจไว้ที่กายของเรา
ให้รู้แค่ความรู้สึกตัวไปเร ื่อยๆ เมื่อไหร่เผลอ!!! ก็ให้รู้ตัว ให้กลับมา รู้ความรู้สึกตัวพอ การรู้ความรู้สึกตัวจะค่อยๆ เด่นชัดขึ้นไปเรื่อยๆ เป็นการเจริญสติวิปัสสนา จาก "ตอนแรกที่รู้แค่แว๊ปเดี๋ยว" แค่แว๊ปเดียว!!!! เท่านั้นนะ ไม่ต้องไปพยายามรักษาความรู ้สึกตัว ถ้าไปพยายามให้รู้สึกตัวต่อ ไปนานๆ จะกลายเป็นการพยายามไปรู้สึ กตัว จะไม่ใช่ความ "รู้สึกตัวที่บริสุทธิ์" จะเป็น "การคิดรู้สึกตัวแทน" แยกดีดีนะ ตรงนี้หล่ะ ที่ไปสับสนกันทําผิดกันมาก ทําให้วิปัสสนาไม่เจริญ ปัญญาญาณที่จะรู้ธรรมจึงไม่ เกิดกัน ขอให้เจริญในธรรมกันทุกๆ ท่า น