เมื่อสิ้นภัทรกัปป์นี้แล้ว จะไม่มีพระพุทธเจ้ามาตรัสรู
"......ภควา สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าจึ
ในกาลนั้น บังเกิดแผ่นดินขึ้นมาใหม่เร
ที่มา: ตำราอนาคตวงศ์
เวลาเหลือไม่มากแล้ว
ถ้าเลยยุคสมเด็จพระศรีอาริย
ก็จะต้องเวียนว่ายตายเกิดอี
กว่าจะมีพระพุทธเจ้าพระองค์
ศาสนาขององค์ปัจจุบันเองก็จ
ปัจจุบัน ก็กึ่งพุทธกาล กว่าแล้ว เวลาเหลือไม่มาก
หลวงปู่ดู่ท่านสอนว่าให้เร่
ได้เกิดมาพบเจอพระพุทธศาสนา
ปฎิบัติภาวนากันไว้อย่างน้อ
นิพพานในศาสนาองค์ปัจจุบัน กำหนดหลวงปู่เวลาปฎิบัติ
ตายไปขอให้ได้ขึ้นพรหมหรือส
ทันศาสนายุคของ สมเด็จพระศรีอาริยเมตไตรย
อย่า่ลืมดูจิต ดูตัวจิตเราให้ลด โลภะ โมหะ โทสะ ด้วย
หมั่นทำจิตใจให้ผ่องใส ทรงพรหมวิหารให้เป็นนิสัย
ถ้าพลาดลงนรกนี้ ไม่ทัน ยุคของ สมเด็จพระศรีอาริยเมตไตรยแน
เพราะถ้าได้ลงแล้วแค่ขุมแรก
เสริมความรู้ กัป กัลป์ และอสงไขย คือ...
การนับกาลเวลามี ๒ แบบ คือ แบบที่นับเป็นตัวเลข ๑ ๒ ๓ .... เพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ เรียกว่านับเป็นตัวเลขสังขย
แล้วตัวเลขแค่ไหนล่ะที่นับไ
กาลเวลาทางพุทธศาสนาที่พบเจ
๑. กัปป์
๒. อสงไขยปี
๓. รอบอสงไขย
๔. อันตรกัปป์
๕. อสงไขยกัปป์
๖. มหากัปป์
๗. อสงไขย
๘. พุทธันดร
กัป
ในความหมายแรก หมายถึงอายุกัป คือระยะเวลาที่เท่ากับอายุเ
อสงไขยปี
ก็คือ จำนวนปีที่ขึ้นต้นด้วย ๑ ตามด้วย ๐ อีก ๑๔๐ ปีนั่นเอง ตัวเลขนี้เป็นอายุของมนุษย์
รอบอสงไขย
ต่อมามนุษย์เริ่มไปกินง้วนด
อันตรกัปป์
ก็คือ ๑ รอบอสงไขยนั่นเอง
อสงไขยกัปป์
โลกนี้มีเกิดดับเป็นวัฏจักร
๑ โลกกำลังถูกทำลาย อาจโดนไฟประลัยกัปป์เผา หรือน้ำประลัยกัปป์ตกกระหน่ำ หรือลมประลัยกัปป์พัดทำลาย ทุกสรรพสิ่งจะถูกทำลายย่อยย
๒ จากนั้นทุกอย่างก็ว่างเปล่า
๓ จากนั้นโลกก็จะเริ่มก่อตัวข
วัฏฏอสงไขยกัปป์
๔ จากนั้นโลกจึงมนุษย์และสัตว ์อาศัยอยู่ได้ เป็นเวลาอีก ๖๔ อันตรกัปปฺ์ หรือเรียกว่า ๑ อสงไขยกัปป์ โดยมีชื่อเรียกเฉพาะว่า วิวัฏฏฐายีอสงไขยกัป
มหากัปป์
คือเวลา 1 รอบวัฏจักรการแตกดับของโลก หรือเท่ากับ ๒๕๖ อันตรกัป
๑ มหากัป อุปมาว่ามีพื้นที่ขนาดกว้าง ๑ โยชน์ ยาว ๑ โยชน์ สูง ๑ โยชน์ บรรจุเมล็ดพันธุ์ผักกาดไว้เ ต็ม ทุก ๑๐๐ ปีก็มาหยิบเมล็ดผักกาดออกเม ล็ดหนึ่ง แม้จะหยิบเมล็ดผักกาดออกหมด แล้วก็ยังไม่นานเท่า ๑ มหากัป
คำว่ามหากัป มักเรียกสั้นๆ ว่า กัป
อสงไขย
คงเคยได้ยินคำว่า ๔ อสงไขยกำไรแสนกัป คำว่าอสงไขยในที่นี้หมายถึง ระยะยาวนานมาก นับเป็นจำนวนกัปแล้วยังนับไ ม่ได้ คือจำนวนกัปมากกว่า ๑ ตามด้วย ๐ อีก ๑๔๐ ตัวเสียอีก ๔ อสงไขยกำไรแสนกัป ก็คือระยะเวลาที่พระโพธิสัต ว์บำเพ็ญบารมีในช่วงปรมัตถ์ ก่อนจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุท ธเจ้าองค์ปัจจุบัน
พุทธันดร
คือระยะเวลาตั้งแต่พระพุทธเ จ้าองค์หนึ่งตรัสรู้ จนกระทั่งถึงพระพุทธเจ้าองค ์ต่อปมาตรัสรู้ เรียกว่า ๑ พุทธันดร พุทธันดรของพระพุทธเจ้าแต่ล ะองค์ยาวไม่เท่ากัน ตัวอย่างเช่น ปัจจุบันเราอยู่ในอันตรกัปท ี่ ๑๒ และพระศรีอาริยเมตไตรยจะมาต รัสรู้ในอันตรกัปที่ ๑๓ จากนั้นไม่มีพระพุทธเจ้ามาต รัสรู้เลยนานถึงอสงไขยหนึ่ง ดังนั้น ๑ พุทธันดรของพระสมณโคดมพุทธเ จ้าจึงยาวนานแค่ ๑ อันตรกัป ส่วน ๑ พุทธันดรของพระศรีอาริยเมตไ ตรยยาวนานถึงอสงไขยหนึ่ง
ระยะเวลาช่างยาวนาน แต่สัตว์โลกก็ยังคงวนเวียนเ วียนว่ายตายเกิด ชั่วกัปป์ชั่วกัลป์ เมื่อใดพบพระธรรมแล้วจึงอย่ าได้ประมาทพากันสั่งสมบุญบา รมี ภาวนาปฎิบัติ เพื่อถึงซึ่งพระนิพพานโดยพล ัน ออกจากวงจรแห่งความทุกข์ที่ ไม่จบไม่สิ้นนี้เสียเทอญ.. .
๔ จากนั้นโลกจึงมนุษย์และสัตว
มหากัปป์
คือเวลา 1 รอบวัฏจักรการแตกดับของโลก หรือเท่ากับ ๒๕๖ อันตรกัป
๑ มหากัป อุปมาว่ามีพื้นที่ขนาดกว้าง
คำว่ามหากัป มักเรียกสั้นๆ ว่า กัป
อสงไขย
คงเคยได้ยินคำว่า ๔ อสงไขยกำไรแสนกัป คำว่าอสงไขยในที่นี้หมายถึง
พุทธันดร
คือระยะเวลาตั้งแต่พระพุทธเ
ระยะเวลาช่างยาวนาน แต่สัตว์โลกก็ยังคงวนเวียนเ
อยู่กับปัจจุบัน
สาเหตุหนึ่งที่คนเราทุกข์ก็ เพราะไม่รู้จักอยู่กับปัจจุ บัน เรามักจมอยู่กับอดีตและหวัง ไปในอนาคต อยู่กับความผิดหวังความไม่พ อใจ หรือติดอยู่กับความสุขความส มหวังในอดีตที่ผ่านไปแล้ว รวมทั้งอยู่กับความคาดหวังใ นอนาคตที่ยังมาไม่ถึง ฝันว่าจะต้องรวย ประสบความสำเร็จ มีครอบครัวที่อบอุ่น จนแม้กระทั่งหวังบรรลุธรรมเ ป็นพระอรหันต์สำหรับบางท่าน
การไม่อยู่กับปัจจุบันดังกล ่าว ย่อมนำมาซึ่งความทุกข์ เพรา...ะต้องทุกข์ซ้ำแล้วซ้ำเล่ากั บความผิดหวังความไม่พอใจ หรืออาจทุกข์เพราะโหยหาความ สุขความสมหวังในอดีตที่ผ่าน มาแล้วก็ได้ ในขณะเดียวกันก็ตั้งความหวั งอันสวยหรูไว้ในอนาคตที่ไม่ มีทางรู้แน่ว่าจะมาถึงหรือไ ม่ จนอาจคิดว่าจะมีความสุขได้จ ริงก็ต่อเมื่อได้บรรลุเป้าห มายดังกล่าวแล้ว
บางท่านอาจบอกว่า การจมอยู่กับอดีตที่หอมหวาน และวาดหวังถึงอนาคตอันสดใส ก็ยังดีกว่าการต้องอยู่กับป ัจจุบันที่ขมขื่นหรือไม่เป็ นที่พอใจ ซึ่งฟังดูเผินๆก็น่าจะใช่ แต่ในความเป็นจริงแล้วจิตนั ้นเกิดดับเร็วมาก ทั้งความทุกข์และความสุขที่ เกิดขึ้นก็ผ่านไปอย่างรวดเร ็ว เพียงแต่ว่าเรานำมาย้ำคิดคร ั้งแล้วครั้งเล่า จึงทำให้เกิดความทุกข์ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความทุกข์จากสิ ่งที่ไม่น่าพอใจ หรือจะเป็นความทุกข์ด้วยควา มติดข้องต้องการในสิ่งที่น่ าพอใจก็ตาม
ตัวอย่างของความทุกข์จากการ ไม่อยู่กับปัจจุบันมีให้เห็ นทุกวัน เช่น เราโกรธใครบางคนที่ทำงาน นอกจากจะไม่พอใจในตอนนั้นแล ้ว หลายครั้งที่เราพกพาความไม่ พอใจนั้นกลับบ้านมาด้วย ซึ่งบางครั้งก็กินเวลาหลายว ันกว่าจะลืมหรืออาจนานเป็นป ีก็เป็นไปได้
ในขณะเดียวกันการหวังไปในอน าคตก็ทำให้เราต้องฝากความสุ ขของเราไว้กับเหตุการณ์ที่ย ังมาไม่ถึงตลอดเวลา โดยบางเรื่องต้องใช้เวลาเกื อบทั้งชีวิต ซึ่งพอเกิดขึ้นจริงก็ให้ควา มสุขสมหวังเพียงชั่วระยะเวล าสั้นๆ ไม่นานความรู้สึกดังกล่าวก็ ผ่านไปและกลายเป็นอดีตอีก
ยิ่งเราอยู่กับปัจจุบันได้ม ากเท่าไร ความทุกข์ก็จะลดน้อยลงได้เท ่านั้น เพราะปัจจุบันขณะเกิดดับอย่ างรวดเร็ว จะมีจริงก็แต่ทุกข์ทางกาย เช่นในเวลาที่เจ็บป่วย ซึ่งหากทำใจได้ ความทุกข์ที่เหลือส่วนใหญ่ก ็เป็นเพียงความทุกข์ทางกาย อย่างความเจ็บปวดไม่สบายกาย หรือความไม่สะดวก เช่น ไม่สามารถเคลื่อนไหว ได้เห็นได้ยิน ฯลฯ ดังคนปกติ ส่วนความทุกข์ทางใจที่เกิดจ ากการคิดนึกไปในอดีตและอนาค ต รวมทั้งการปรุงแต่งก็จะบรรเ ทาลงได้ตามกำลังปัญญาของแต่ ละคนที่จะมีสติระลึกรู้ถึงป ัจจุบันขณะด้วยความเห็นถูกน ั่นเอง
- มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพ ุทธศาสนา
สาเหตุหนึ่งที่คนเราทุกข์ก็
การไม่อยู่กับปัจจุบันดังกล
บางท่านอาจบอกว่า การจมอยู่กับอดีตที่หอมหวาน
ตัวอย่างของความทุกข์จากการ
ในขณะเดียวกันการหวังไปในอน
ยิ่งเราอยู่กับปัจจุบันได้ม
- มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพ
อย่าหลงบุญ
บุญ ที่ถูกต้อง คืออย่าหลงบุญ ชาวพุทธเราส่วนใหญ่ยังเข้าใ จผิดเกี่ยวกับเรื่องของ “บุญ” …คิดว่าการทำบุญก็คือเฉพาะ การตักบาตร, การถวายทรัพย์, ปัจจัย, การถวายสังฆทาน ฯลฯ เพียงเท่านี้ เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ดีและควรทำ อยู่เสมอก็จริงในฐานะชาวพุท ธ แต่การสร้างบุญนั้นยังมีมาก กว่านี้ เพราะเมื่อสร้างบุญเบื้องต้ นพื้นฐานแล้ว ก็ต้องรู้จักต่อยอดสร้างบุญ ที่ละเอียดยิ่งขึ้น โดยไม่หลงอยู่กับบุญเพียงบา งประเ...ภทโดยไม่รู้จักต่อยอดจากฐาน ที่ควรทำประจำขึ้นไปเลย ยิ่งบางพุทธพาณิชย์ เน้นสอนให้บริจาคทรัพย์ หรือร่วมสร้างความยิ่งใหญ่อ ลังการเข้าวัดจนเกินตัว มียอดบริจาคมากเท่าไหร่ถือว ่ายิ่งได้บุญหนักศักดิ์ใหญ่ รวยล้นฟ้าไม่รู้เรื่อง…
แท้จริงแล้ว “บุญ” หรือ “ปุญญ” แปลว่า “ชำระ” หมายถึง การทำให้หมดจดจากมลทิน เครื่องเศร้าหมอง อันได้แก่ โลภะ โทสะ และ โมหะ
ตามพระไตรปิฎก เราสามารถสร้าง “บุญ” ได้ ๓ อย่าง คือ ทาน ศีล ภาวนา
๑. ทาน คือ การให้ เช่นที่กล่าวมาแล้ว คือ การตักบาตร บริจาคทรัพย์ ถวายสังฆทาน สร้างวิหาร หล่อพระ เป็นต้น ถือเป็น จาคะ หรือ การให้นับเป็น บุญอย่างหนึ่ง นับเป็นบุญที่เป็นพื้นฐานเบ ื้องต้นที่จะส่งเสริมบารมีบ ุญด้านอื่นๆไปด้วยกัน แต่มีการให้บางประการที่ไม่ นับเป็นบุญ เช่น สุรา มหรสพ ให้สิ่งเพื่อกามคุณ เป็นต้น
๒. ศีล คือ ความประพฤติที่ไม่ละเมิด หรือรักษาความสำรวมทางกาย วาจา การรักษาศีลสำหรับฆราวาส ได้แก่ ศีล ๕ และอุโบสถศีล (มี ๘ ข้อ)
๓. ภาวนา คือ การอบรมจิตทางสมถะและทางวิป ัสสนา การนั่งสมาธิ เรียกว่า สมถะภาวนา ส่วนการนั่งวิปัสสนา (สติรู้ถึงรูป–นาม) เรียกว่า วิปัสสนาภาวนา
“บุญ” ยังมีอีก ๗ อย่าง ตามคัมภีร์อรรถกถา หรือข้อปลีกย่อยที่อธิบายคว ามจากพระไตรปิฎก นับถัดไปเป็นลำดับที่ ๔ ดังนี้
๔. อปจายนะ ความเป็นผู้นอบน้อม ต่อผู้ที่ควรนอบน้อม
๕. เวยยาวัจจะ ความขวนขวายในกิจ หรืองานที่ควรกระทำ
๖. ปัตติทาน การให้บุญที่ตนถึงแล้วแก่คน อื่น
เช่น การอุทิศส่วนกุศล การกรวดน้ำ
๗. ปัตตานุโมทนา คือการยินดีในบุญที่ผู้อื่น ถึงพร้อมแล้ว เช่น เห็นผู้อื่นทำบุญตักบาตร เมื่อเราพลอยปลื้มปิติยินดี กล่าวอนุโมทนา
เพียงเท่านี้ ก็ได้บุญแล้ว
๘. ธัมมัสสวนะ หรือการฟังธรรม ไม่ว่าจะฟังธรรมโดยตรง
หรือจากสื่อวิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ
๙. ธัมมเทศนา หรือการแสดงธรรมเมื่อได้ศึก ษาธรรมะ
แล้วถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่น นับเป็นบุญประการหนึ่งด้วย
๑๐. ทิฏฐุชุกรรม คือการกระทำความเห็นให้ตรง
หรือ สัมมาทิฏฐิ นั่นเอง (เช่น เชื่อว่า บาป-บุญมี ,นรก-สวรรค์มี ,ชาตินี้-ชาติหน้ามี , เชื่อหลักไตรลักษณ์ อนิจจัง-ทุกข์ขัง-อนัตตา)
บุญทั้ง ๑๐ ประการนี้ บางที่เรียกกันว่า “บุญกิริยาวัตถุ ๑๐” จะเห็นว่าบุญทำได้ถึง ๑๐ อย่าง มีเพียงข้อแรกเท่านั้นที่ต้ องใช้ทรัพย์ อีก ๙ ข้อล้วนไม่ต้องใช้ทรัพย์ . . .
"ธรรมของพระพุทธเจ้า
เป็นอกาลิโก อยู่เหนือกาลเวลา" See More
บุญ ที่ถูกต้อง คืออย่าหลงบุญ ชาวพุทธเราส่วนใหญ่ยังเข้าใ
แท้จริงแล้ว “บุญ” หรือ “ปุญญ” แปลว่า “ชำระ” หมายถึง การทำให้หมดจดจากมลทิน เครื่องเศร้าหมอง อันได้แก่ โลภะ โทสะ และ โมหะ
ตามพระไตรปิฎก เราสามารถสร้าง “บุญ” ได้ ๓ อย่าง คือ ทาน ศีล ภาวนา
๑. ทาน คือ การให้ เช่นที่กล่าวมาแล้ว คือ การตักบาตร บริจาคทรัพย์ ถวายสังฆทาน สร้างวิหาร หล่อพระ เป็นต้น ถือเป็น จาคะ หรือ การให้นับเป็น บุญอย่างหนึ่ง นับเป็นบุญที่เป็นพื้นฐานเบ
๒. ศีล คือ ความประพฤติที่ไม่ละเมิด หรือรักษาความสำรวมทางกาย วาจา การรักษาศีลสำหรับฆราวาส ได้แก่ ศีล ๕ และอุโบสถศีล (มี ๘ ข้อ)
๓. ภาวนา คือ การอบรมจิตทางสมถะและทางวิป
“บุญ” ยังมีอีก ๗ อย่าง ตามคัมภีร์อรรถกถา หรือข้อปลีกย่อยที่อธิบายคว
๔. อปจายนะ ความเป็นผู้นอบน้อม ต่อผู้ที่ควรนอบน้อม
๕. เวยยาวัจจะ ความขวนขวายในกิจ หรืองานที่ควรกระทำ
๖. ปัตติทาน การให้บุญที่ตนถึงแล้วแก่คน
เช่น การอุทิศส่วนกุศล การกรวดน้ำ
๗. ปัตตานุโมทนา คือการยินดีในบุญที่ผู้อื่น
เพียงเท่านี้ ก็ได้บุญแล้ว
๘. ธัมมัสสวนะ หรือการฟังธรรม ไม่ว่าจะฟังธรรมโดยตรง
หรือจากสื่อวิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ
๙. ธัมมเทศนา หรือการแสดงธรรมเมื่อได้ศึก
แล้วถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่น นับเป็นบุญประการหนึ่งด้วย
๑๐. ทิฏฐุชุกรรม คือการกระทำความเห็นให้ตรง
หรือ สัมมาทิฏฐิ นั่นเอง (เช่น เชื่อว่า บาป-บุญมี ,นรก-สวรรค์มี ,ชาตินี้-ชาติหน้ามี , เชื่อหลักไตรลักษณ์ อนิจจัง-ทุกข์ขัง-อนัตตา)
บุญทั้ง ๑๐ ประการนี้ บางที่เรียกกันว่า “บุญกิริยาวัตถุ ๑๐” จะเห็นว่าบุญทำได้ถึง ๑๐ อย่าง มีเพียงข้อแรกเท่านั้นที่ต้
"ธรรมของพระพุทธเจ้า
เป็นอกาลิโก อยู่เหนือกาลเวลา" See More
พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ (นะ โม พุท ธา ยะ) ในภัทรกัปนี้
ในสมัย ต้นปฐมกัป มีพญากาเผือกสองตัวผัวเมีย ทำรังอยู่ที่ต้นมะเดื่อริมฝ
แต่ด้วยอานิสงส์ที่มีความเม
ครั้นในกาลเวลาต่อมา พระโพธิสัตว์ทั้ง ๕ ก็ประสูติออกจากไข่ ปรากฏเป็นมนุษย์บุรุษรูปงาน
แม่ เลี้ยงทั้ง ๕ เป็นปณิธานที่มุ่งมั่น จะบำเพ็ญบารมีพระโพธิญาณ เพื่อเป็นพระพุทธเจ้าโปรดสั
องค์ที่ ๑ มีพระนามว่า พระกกุสันโธ เพราะตามนามแม่เลี้ยงเป็นไก
องค์ที่ ๒ มีพระนามว่า พระโกนาคมโน เพราะตามนามแม่เลี้ยงเป็นนา
องค์ที่ ๓ มีพระนามว่า พระกัสสโป เพราะตามนามแม่เลี้ยงเป็นเต
องค์ที่ ๔ มีพระนามว่า พระโคตโม เพราะตามนามแม่เลี้ยงเป็นโค
องค์ที่ ๕ มีพระนามว่า พระศรีอาริยเมตไตรโย เพราะตามนามแม่เลี้ยงเป็นรา
ในกัปนี้ชื่อว่า ภัทรกัปเป็นกัปที่เจริญที่ส
ฤาษี โพธิสัตว์ทั้ง ๕ ต่างพากันตั้งหน้าบำเพ็ญเพี
กาลเวลาอันยาวนานผ่านไปจนถึ
พระกกุสันโธสัมมาสัมพุทธเจ้
พระโกนาคมโนสัมมาสัมพุทธเจ้
พระกัสสโปสัมมาสัมพุทธเจ้า มีอายุ ๒ หมื่นปี มีพาราณสีนครของพระเจ้ากิงก
พระโคตโมสัมมาสัมพุทธเจ้า มีอายุ ๘๐ ปี มีกบิลพัสดุ์นครของพระพุทธเ
ส่วน พระโพธิสัตว์องค์ที่ ๕ อันเป็นลูกองค์สุดท้ายของแม
หลวงตาสอนเกี่ยวกับการปลีกว
การอยู่วิเวก คือ การอยู่คนเดียว ในห้อง หรือสถานที่ๆเรากำหนด (อาจจะออกมาได้ด้วยการกินข้
สิ่งที่หลวงตาท่านเตือนให้ร
1.สถานที่ หากต้องการปลีกวิเวกให้ได้อ
2.อุปกรณ์สื่อสาร ควรปิดและเก็บ อย่าออกมาให้เห็น สำหรับโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ หรือหนังสืออ่านเล่นไม่สมคว
3.การอธิษฐานปิดวาจา ใช้คู่กับการปลีกวิเวก เพื่อป้องกันเราในการพูดจา ตอบโต้ กับคนที่อยู่ข้างนอก หรือ การสื่อสารใดๆ (ข้อควรระวัง การปิดวาจาที่ถูกต้อง ห้ามสื่อสารใดๆทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเขียนในกระดาษหรือก
4.สิ่งสำคัญที่สุดในการปลีก
ข้อยกเว้นในการปลีกวิเวกและ
เรียบเรียงเนื้อหาจากคติธรร
พระอาจารย์ วรงคต วิริยธโร (หลวงตาม้า)
วัดพุทธพรหมปัญโญ (วัดถ้ำเมืองนะ)
ต.เมืองนะ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
ก่อนหลับฝึกตายก่อนตาย
ตอนนอนนี่ เป็นช่วงฝึกและทดสอบผลการฝึ
แต่ตอนตายนี่ คุมจิตยากกว่ามาก เพราะตอนหลับ เรา...ก็หลับไปสบายๆ ร่างกายผ่อนคลาย คุมจิตไม่ยาก แต่ตอนตาย มันมีเวทนาจากอาการป่วยมาดึ
หลวงตาม้าท่านสอนเสมอๆ ว่า.. เวลา เดิน.. นั่ง.. กิน.. แม้แต่ตอนนอน ภาวนาไว้ อย่าได้ขาด.. ปฏิบัติ ทุกลมหายใจเข้าออก ทรงอารมณ์ดีดี อย่าให้กระแสไม่ดี เข้ามากระทบ... หากเรานึกในสิ่งดีๆ จิตจะเพิ่มแต่ในสิ่งที่ดีๆ อย่าจุดประกายในสิ่งที่ไม่ด
ท่านสอนว่า ทุกวันนี้เราฝึกไว้เพื่อเตร
ท่านว่าการบันทึกบุญอยู่ที่
เพราะฉะนั้นท่านจึงเน้นย้ำใ
ทำตัวเองให้เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน...