เสวนาผู้ตรวจการแผ่นดินสัญจ
เสวนาผู้ตรวจการแผ่นดินสัญจ
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เมื่อเวลา 09.00น. ที่โรงแรมรามาการ์เด้นส์ สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิ...น จัดสัมมนา เรื่อง "ผู้ตรวจการแผ่นดินสัญจรเพื
โดยนพ.เกษม กล่าวปาฐกถาพิเศษเกี่ยวปัญห
ด้านนายศรีราชา กล่าวตอนหนึ่งว่า ขณะนี้สังคมไทยป่วยอาการหนั
25เม.ย.2557 ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กล่าวอภิปรายในหัวข้อ การปฏิรูปการเมืองภายใต้หลั กนิติธรรม โอกาสครบรอบ 16 ปีของการสถาปนาศาลรัฐธรรมนู ญ โดยมีประเด็นน่าสนใจ ดังนี้
ขณะนี้ในประเทศไทยมีการเรีย กร้องให้มีการปฏิรูปประเทศ ทั้งฝ่ายที่ต่อต้านรัฐบาล คือ กลุ่ม กปปส. (คณะกรรมการประชาชนเพื่อเปล ี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นปร ะชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพร ะมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข) ...และตัวรัฐบาลเอง ก่อนหน้านี้เคยพยายามตั้งสภ าปฏิรูป ซึ่งตลอด 20 ปีที่ผ่านมา กระแสปฏิรูปในโลกมีความรุนแ รงขึ้น สิ่งสำคัญของการปฏิรูปมีจุด หมายเดียวกัน คือ เพื่อเพิ่มอำนาจความทรงธรรม และกำจัดอำนาจเสียงข้างมากใ ห้อ่อนลง ถ้าหากพิจารณาประชาธิปไตย พัฒนาการประชาธิปไตยเคียงคู ่กับหลักนิติธรรมตลอด การปฏิรูปประชาธิปไตยคือการ ปฏิรูปนิติธรรม ที่ผ่านมายังมีปัญหาและมีกา รหาทางออกมาโดยตลอด
การตั้งศาลรัฐธรรมนูญขึ้น เพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญเป็นผ ู้ควบคุมการตรารัฐธรรมนูญ ไม่ให้ขัดกับรัฐธรรมนูญ พร้อมกำหนดให้คำวินิจฉัยศาล รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายผูกพัน ทุกองค์กร ทั้งรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ซึ่งรัฐธรรมนูญปี 2540 และปี 2550 ได้บัญญัติไว้ แสดงให้เห็นว่าการยกสถานะศา ลรัฐธรรมนูญให้เป็นองค์กรที ่ทำหน้าที่เท่าเทียมกับรัฐส ภา เพื่อพิทักษ์กฎหมาย ควบคุมกฎหมาย เพื่อไม่ให้ขัดรัฐธรรมนูญ รวมไปถึงการควบคุมการแก้ไขเ พิ่มเติมรัฐธรรมนูญของรัฐสภ าด้วย จึงไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะเป็นการป้องกันเผด็จกา รรัฐสภา เพื่อไม่ให้องค์กรที่รัฐธรร มนูญตั้งขึ้นมานั้นทำลายรัฐ ธรรมนูญเสียเอง
คิดว่าประเทศไทยควรจะปฏิรูป ด้านความเป็นธรรม คือ
1.ปฏิรูปรัฐธรรมนูญเป็นกฎหม ายทรงธรรม เหนือองค์กรทุกองค์กรที่รัฐ ธรรมนูญตั้งขึ้น การแก้ไขรัฐธรรมนูญในแต่ละค รั้งต้องมีการลงประชามติจาก ประชาชน และพระมหากษัตริย์ทรงลงพระป รมาภิไธยทุกครั้ง หากประชาชนไม่เห็นชอบและพระ มหากษัตริย์ไม่ลงพระปรมาภิไ ธย ให้ถือว่าร่างรัฐธรรมนูญนั้ นเป็นอันตกไป
นอกจากนั้น ต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอ บการแก้ไขรัฐธรรมนูญของรัฐส ภาทุกครั้งโดยอัตโนมัติ ก่อนการลงประชามติของประชาช น ถึงแม้ในขณะนี้รัฐธรรมนูญ มาตรา 291 ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจในการต รวจสอบอยู่แล้ว แต่ต้องมีผู้ยื่นเรื่องเข้า มาถึงจะตรวจสอบได้
2.เห็นว่าการปฏิรูปต้องไม่ท ำตามอำเภอใจของทุกองค์กร ทั้งที่ก่อนหน้านี้แม้แต่ระ บอบราชาธิปไตย นิติธรรมก็ยังอยู่เหนือพระม หากษัตริย์ ยิ่งในระบอบประชาธิปไตย จึงมิอาจปฏิเสธหลักนิติธรรม ได้ แต่หลักนิติธรรมไม่ใช่ลายลั กษณ์อักษร หากเป็นแนวทางในการปกครองที ่มาจากหลักนิติธรรมตามธรรมช าติ ปราศจากอคติมาแอบแฝง ซึ่งทุกองค์กรต้องยึดในแนวท างปฏิบัติ ดังนั้น หลักนิติธรรมจึงอยู่เหนือกฎ หมายที่เป็นลายลักษณ์อักษรท ี่จะออกมาเพื่อขัดรัฐธรรมนู ญไม่ได้
3.การปฏิรูปใหม่จะต้องจัดกา รผลประโยชน์ ยกเลิกประชานิยม เปลี่ยนเป็นรัฐสวัสดิการ รัฐธรรมนูญ ปี 2540 และปี 2550 ทำให้คนส่วนใหญ่ไม่ได้เข้าถ ึงทรัพยากร เป็นช่องว่างให้พรรคการเมือ งนักการเมืองฉวยโอกาสหาเสีย งนโยบายประชานิยม ดังนั้น การปฏิรูปการเมือง ต้องยกเลิกประชานิยม
4.ควรปฏิรูปการแบ่งแยกอำนาจ จากพรรค การเมือง และกลุ่มอาชีพต่างๆ โดยให้สภาผู้แทนฯมาจากพรรคก ารเมือง ส่วนวุฒิสภามาจากผู้เชี่ยวช าญจากสาขาอาชีพต่างๆ เพื่อคานอำนาจกัน และในสภาผู้แทนฯต้องยกเลิกใ ห้ผู้สมัคร ส.ส.ต้องสังกัดพรรค เพื่อให้อิสระในการทำงาน พร้อมกันนี้ต้องมีการคุ้มคร องฝ่ายเสียงข้างน้อยทางการเ มือง โดยเฉพาะเฉลี่ยเวลาการออกสื ่อ ทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาลให้เท ่าเทียมกัน นอกจากนั้นให้ข้าราชการตั้ง สหภาพแรงงานได้ เพื่อตรวจสอบการทำงานฝ่ายบร ิหาร และจัดให้มีการประเมินเพื่อ ตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล รัฐสภา ได้ตลอดเวลา
5.ต้องปฏิรูปสื่อ ต้องให้สื่อเป็นอิสระ ปราศจากการแทรกแซงจากรัฐและ นายทุน ถึงแม้วันนี้จะมีสื่อที่ไม่ ถูกแทรกแซงการทำงานจากรัฐ แต่สื่อก็ต้องตกอยู่ภายใต้น ายทุน ทำให้ไม่เป็นอิสระในการนำเส นอข่าวอย่างตรงไปตรงมา นอกจากนี้ ต้องยุติสื่อที่ยั่วยุให้เก ิดความรุนแรง สื่อเลือกข้าง ไม่ว่าจะเป็นสื่อสีแดง สีน้ำเงิน สีเหลือง 6.ต้องออกกฎหมายว่าด้วยการช ุมนุมสาธารณะ และ 7.ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมท ั้งระบบ โดยเฉพาะกระบวนการยุติธรรมต ้นทาง คือ ตำรวจ ต้องปฏิรูปทุกระดับ
ที่ผ่านมารัฐธรรมนูญ ปี 2550 วางรากฐานไว้ดีแล้ว แต่ยังต้องช่วยกันใส่เครื่อ งมือลงไป ฝ่ายบริหารต้องเคารพกฎหมาย ไม่หลีกเลี่ยงกฎหมาย ต้องเคารพคำวินิจฉัย หากฝ่ายบริหารไม่เคารพกฎหมา ย หลักนิติธรรมจะล่มสลาย รัฐจะล้มเหลว ไม่อาจเป็นรัฐได้ ปัญหาต่างๆ จะเกิดขึ้นกับสังคมโดยไม่อา จหลีกเลี่ยงได้
คงไม่มีใครอยากเห็นคนไทยทุก คน ต้องตั้งกองกำลังของตนเอง ถ้ากฎหมายศักดิ์สิทธิ์ ก็ไม่จำเป็นตั้งกองกำลัง ถ้ารัฐเป็นผู้พิทักษ์กฎหมาย เสียเอง
ขณะนี้ในประเทศไทยมีการเรีย
การตั้งศาลรัฐธรรมนูญขึ้น เพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญเป็นผ
คิดว่าประเทศไทยควรจะปฏิรูป
1.ปฏิรูปรัฐธรรมนูญเป็นกฎหม
นอกจากนั้น ต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอ
2.เห็นว่าการปฏิรูปต้องไม่ท
3.การปฏิรูปใหม่จะต้องจัดกา
4.ควรปฏิรูปการแบ่งแยกอำนาจ
5.ต้องปฏิรูปสื่อ ต้องให้สื่อเป็นอิสระ ปราศจากการแทรกแซงจากรัฐและ
ที่ผ่านมารัฐธรรมนูญ ปี 2550 วางรากฐานไว้ดีแล้ว แต่ยังต้องช่วยกันใส่เครื่อ
คงไม่มีใครอยากเห็นคนไทยทุก
ทนายวันชัย สอนศิริ
มันร้าวลึก... มันแตกแยก... มันสับสนอลหม่าน... มันทุกข์ทรมาน... ประหวั่นพรั่นพรึง... หนักอกหนักใจ... เมื่อไรมันจะจบสักทีว้าาา.. . ประชาชนคนไทยอยากสงบ...อยาก ทำมาหากิน...อยากอยู่กันอย่ างร่มเย็นเป็นสุขเหมือนเก่า เหมือนเดิม ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง... การเมืองก็เป็นเรื่องของการ เมือง ว่ากันไปทำกันไป...ชาวบ้านก ็สนับสนุนก็เชียร์กันไป ไม่ถึงขั้นต้องมาแบ่งฝักแบ่ งฝ่าย สู้รบปรบมือให้กับนักการเม...ือง... ใครจะได้เป็นรัฐบาลหรือไม่ไ ด้เป็นรัฐบาล ประชาชนเขาก็ไม่ทะเลาะกันนะ ...
ตั้งแต่มีระบอบทักษิณ...มัน ร้าวลึก มันแตกแยก มันลากชาวบ้านมาทะเลาะกับนั กการเมือง มาทะเลาะกันเอง ล่อกันเละเทะไปหมด... ไอ้ตั่วเฮียตัวนี้มันร้ายมา ก... เพราะมันตัวเดียวเล่นเสียปร ะเทศเละเทะเป็นสิบปีแล้ว... มันยังไม่รู้สึก ไม่สำนึกว่ามันเป็นตัวปัญหา ของบ้านของเมือง... แล้วก็มีคนเห็นดีเห็นงามกับ เงินและอำนาจของมัน ก็ช่วยกันกระพือโหมความขัดแ ย้งให้แตกแยกกันไปใหญ่... เมื่อไหร่นะ มันจะสำนึก มันจะคิดได้ มันจะเห็นแก่ประเทศชาติและป ระชาชน... จะให้มันคิดเองหรือจะรอให้ม ันใกล้ตายแล้วค่อยสำนึกด้วย ตัวของมันเอง... เราจะรอกันไหวมั้ยล่ะ... ประเทศจะเละกันก่อนรึเปล่า. .. และเราก็ไม่รู้ว่ามันจะตายเ มื่อไหร่... เฮ้ออออ~ จะตายหรือไม่ตายไม่ใช่เรื่อ งสำคัญ... สู้กับมันอย่าได้ถอย... ชนะแน่... ชนะตอนที่มันยังไม่ตายนี่แห ละ มันจะได้ตรอมใจตาย.....
มันร้าวลึก... มันแตกแยก... มันสับสนอลหม่าน... มันทุกข์ทรมาน... ประหวั่นพรั่นพรึง... หนักอกหนักใจ... เมื่อไรมันจะจบสักทีว้าาา..
ตั้งแต่มีระบอบทักษิณ...มัน