ในบรรดาโรคมะเร็งร้ายที่คร่าชีวิตหญิงไทย ปัจจุบันมะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุด และมีจำนวนผู้เสียชีวิตสูงที่สุดตามจำนวนผู้ป่วยที่พบบ่อยขึ้น มะเร็งปากมดลูกที่เคยเป็นแชมป์อุบัติการณ์ที่พบบ่อยมายาวนานหลายปี ปัจจุบันตกมาเป็นอันดับสอง ไม่ใช่เป็นเพราะอุบัติการณ์ของมะเร็งเต้านมสูงขึ้นมากแต่อุบัติการณ์ของมะเร็งปากมดลูกยังเท่าเดิม แต่ข้อเท็จจริงก็คืออุบัติการณ์ของมะเร็งปากมดลูกนั้นลดลงชัดเจน
เหตุที่เป็นเช่นนั้น มิใช่เพราะจากโชคช่วยหรือปาฏิหาริย์แต่อย่างใด แต่เป็นเพราะความสำเร็จของโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกทั่วประเทศ 76 จังหวัดที่ดำเนินการโดยสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ ร่วมกับการให้เงินทุนสนับสนุนโครงการโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือ สปสช. ที่ได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2548 จวบจนปัจจุบันปี 2557 กำลังจะครบ 10 ปี จากเดิมก่อนเริ่มโครงการอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูกอยู่ที่ 23.4 คนต่อประชากร 100,000 คนลดลงเหลือ 16.7 คนต่อประชากร 100,000 คน โดยใช้วิธีการตรวจแป๊ปสเมียร์ คือการใช้ไม้พายขนาดเล็กๆ ไปป้ายกวาดเซลล์บริเวณปากมดลูกไปส่องตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยนักเซลล์วิทยา ดูว่ามีเซลล์หน้าตาผิดปกติอย่างไรหรือไม่ แต่ในความสำเร็จดังที่ว่า ก็ยังมีปัญหาที่แอบแฝงอยู่คือ กลุ่มผู้หญิงไทยที่ขี้อาย ขนาดให้ตรวจคัดกรองฟรีไม่ต้องเสียสตางค์แต่อย่างใดตามที่โครงการกำหนด ก็ยังไม่มาตรวจ ต่อให้เอาช้างมาฉุดเท่าไหร่ก็ไม่มีทางมาตรวจเด็ดขาด เพราะอายแพทย์ ไม่กล้าเปิดเผยของสงวน เรียกว่ายอมตายเสียยังดีกว่าต้องไปขึ้นขาหยั่ง กลุ่มผู้หญิงขี้อายที่ว่านี้โดยรวมตัวเลขอยู่ที่กว่า 40 เปอร์เซ็นต์
ล่าสุดมีอุปกรณ์สำหรับคุณผู้หญิงที่ขี้อายกลุ่มนี้ สามารถเก็บสารคัดหลั่งในบริเวณปากมดลูกได้ด้วยตนเอง โดยวิธีที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนหรือสร้างความเจ็บปวดแต่อย่างใด จากนั้นก็เก็บใส่ถุงใส่กล่องส่งไปรษณีย์ไปตรวจหาหาดีเอ็นเอของเชื้อไวรัสหูดหรือไวรัสเอชพีวี เนื่องจากในปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าการติดเชื้อไวรัสเอชพีวีเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดมะเร็งปากมดลูก การตรวจด้วยวิธีการนี้มีความไวสูงมาก ถ้าผลตรวจเป็นลบ ก็สบายใจได้มากก็มาตรวจภายในซ้ำกันทุก 3-5 ปี ซึ่งผู้หญิงบ้านเราส่วนใหญ่ 90 เปอร์เซ็นต์ อยู่ในกลุ่มนี้ แต่หากผลตรวจดีเอ็นเอเป็นบวก ก็ต้องไปพบแพทย์เพื่อตรวจแป๊ปสเมียร์ต่อ ถ้าเจอเซลล์ผิดปกติก็ทำการตรวจส่องกล้องปากมดลูกกันต่อไป แต่ถ้าไม่พบเซลล์ผิดปกติกลุ่มนี้ก็ต้องมาตรวจแป๊ปสเมียร์ปีละครั้ง เพราะยังมีความเสี่ยงสูง เนื่องจากยังมีการติดเชื้อไวรัสเอชพีวีบริเวณปากมดลูกอยู่
ท้ายที่สุดหากสามารถลดจำนวนผู้หญิงขี้อายที่ร้อยวันพันปีก็ไม่ยอมมาตรวจเลยลงได้ ให้มาตรวจกันมากขึ้น ซึ่งก็คงยากเอาการ หรือรณรงค์ส่งเสริมให้ใช้อุปกรณ์ที่ว่าเก็บสารคัดหลั่งได้ด้วยตนเองมาส่งตรวจ ก็จะสามารถค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มต้นได้มากขึ้นและอัตราการตายของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในภาพรวมก็จะลดลงในที่สุด...เชื่อผมสิ
สาระดีๆ สำหรับคนที่กินแล้วไม่ค่อยข ับถ่าย อนาคต..
มะเร็งลำไส้..! (imp)"ตะลึง"
....คุณหมอพรทิพย์เขียนไว้ว ่า เวลาผ่าศพจะเจออุจจาระตกค้างในลำไส้อย่างน่าตกใจ บางศพมีน้ำหนักอุจจาระถึง 10 โล... แล้วเป็นเพราะอะไร???...
(yes) เค้าว่า "อุจจาระตกค้าง" เนื่องมาจาก
(lips) 1. เคี้ยวอาหารไม่ละเอียด
(apple) 2. กินอาหารที่มีกากใยน้อย
(snow) 3. มีพยาธิ หรือ เชื้อรา ทำให้ระบบย่อยอาหารผิดปกติ
(drop) 4. ระบบดูดซึมเสีย เพราะน้ำมันพืชเคลือบทำให้น ้ำที่ดื่มเข้าไป ไม่หมุนเวียน
(sun) 5. ไม่ถ่ายอุจจาระเวลา 05.00-07.00 เช้า
(toilet) หากถ่ายอุจจาระ หลังเวลา 7 โมงเช้า
(poop) ลำไส้จะบีบให้อุจจาระขึ้นไป ข้างบนเวลาถ่ายจะถ่ายไม่หมด แต่ไม่รู้ตัว ที่ปลายลำไส้จะมีประสาท ปลายทวาร เมื่อมีอุจจาระที่เหลวพอมาจ ่อปลายทวาร ประสาทจะส่งสัญญานบอกสมองให ้ปวดอึหลัง 7 โมงเช้า ลำไส้จะทำงานไม่เป็นปกติ บีบอุจจาระให้ขาด ช่วงเวลาถ่ายจนรู้สึกว่าหมด แล้ว เราก็หยุดแต่ความจริง อุจจาระท้ายขบวนยังไม่ออก แต่มันถูกดันกลับขึ้นไป ไม่มาจ่อปลายทวารทำให้เราไม ่ปวดอึ เราก็นึกว่าหมดแล้ว อุจจาระที่ค้างไว้นี้ก็จะเก าะที่ผนังลำไส้ พอมีอุจจาระใหม่ที่เหลวกว่ามัน ก็แซงหน้าไปก่อน แต่มันไม่สามารถดันพวกที่ค้างแข็งให้ ออกไปได้ พวกที่ค้างแข็งไว้ก็เกาะติดแน่น
(poop) ฉะนั้น ทุกวันที่ถ่าย มันก็ถ่ายเฉพาะอึที่เหลวพอ ส่วนที่เหลือ ก็เกาะไปเรื่อยๆ อุจจาระตกค้างจะไปทับเส้นเลือดต่างๆ ในกระเพาะ และกดทับกระดูกหลัง ทำให้เกิดอาการมากมายเช่นท้ องอืด ปวดหลัง ปวดขา ปวดกล้ามเนื้อที่ไหล่และสะบ ัก เวียนหัวอ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เป็นฝ้า ไมเกรน และอื่น ๆ
(rage) นั่นแหละเป็นที่มา..ที่คุณห มอพรทิพย์เขียนไว้ว่าเวลาผ่าศพจะเจออุจจาระตกค้า งในลำไส้อย่างน่าตกใจ
(gasp!) การนำอุจจาระตกค้างออกจึงจำ เป็นต้องหาว่าเป็นที่สาเหตุใดใน 5 สาเหตุข้างต้น
(content) แต่ถ้าสามารถได้รับการตรวจด ้วยลูกดิ่งเพนดูลั่มก็จะรู้ได้
(at last!) สำหรับท่านที่ไม่สะดวกในการ เดินทางมาให้ตรวจ ก็แนะนำให้ถ่ายพยาธิเสียก่อ น แล้ว ลองสูตรอาหารดังต่อไปนี้
(tearsofjoy) 1. เม็ดแมงลัก 2 ช้อนชา ผสมน้ำ 1 แก้ว ทิ้งไว้ 30 นาที ดื่มก่อนนอน เม็ดแมงลักจะลากอุจจาระตกค้างออกมา ทานเป็นปกติได้ทุกวันหรือ 3-4 วันต่อสัปดาห์ แล้วแต่จะชอบ
(exasperated) 2. นมสด 2 กล่อง (รวมจะได้ประมาณ 500 มิลลิลิตร) และ กล้วยน้ำว้า 2 ลูก ทานก่อน 6 โมงเช้า ช่วงแรกควรทานติดกัน 3 วัน หากถ่ายก่อน 7 โมงเช้าเป็นปกติได้แล้ว ก็ลดมาเป็นสัปดาห์ละ 2 ครั้ง หรือ ตามที่เห็นสมควร
(yummy) 3. ทานผักบุ้ง 2 กำมือ ผัด หรือ ต้ม ทำอาหารตามใจชอบผักบุ้งจะลา กอุจจาระตกค้างออก
ความดันเลือดสูงเป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนไทยโดยเฉพาะคนที่อยู่ในเมือง
เฉลี่ยแล้ว ทุกๆ ๕ คนจะมีผู้ที่เป็นโรคความ ดันเลือดสูง ๑ คน อายุยิ่งมาก ยิ่งมีโอกาสเป็นโรคความ ดันเลือดสูงมากขึ้นตาม ดังนั้น ผู้ที่อายุมากกว่า ๓๕ ปี ทุกคนควรได้รับการตรวจวัดความดันเลือดอย่างน้อยปีละครั้ง
ถ้าความดันเลือดเฉลี่ยจากการวัดหลายๆ ครั้งในเวลา ๑-๒ สัปดาห์ เกินกว่า ๑๔๐/๙๐ มิลลิเมตรปรอท ก็ถือว่าเป็นโรคความ ดันเลือดสูง
ผู้ที่เป็นโรคความดันเลือดสูงมักจะไม่มีอาการใดๆ บอกว่าความดันเลือดสูง แต่อาจจะมาด้วยอาการแรก คือเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือแม้แต่หมดสติ จากหลอดเลือดสมองตีบ แตก หรือ ตัน ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ ๑ ในหญิงไทย และอันดับ ๒ ในชายไทย หรืออาจจะมาด้วยอาการเจ็บหน้าอก จากหลอดเลือดหัวใจตีบตันจนหัวใจขาดเลือด หรือเจ็บหน้าอกจากหลอดเลือดใหญ่ฉีกขาด ต้องได้ รับการรักษาอย่างรีบด่วน มิฉะนั้น อาจเกิดอันตรายถึง กับเสียชีวิตได้ เป็นต้น
ดังนั้น แม้ว่าเราจะไม่มีอาการผิดปกติอะไรก็ตามเมื่อความดันเลือดสูง แต่เราก็ต้องหาวิธีทำให้ความ ดันเลือดอยู่ในระดับปกติ โดยไม่ได้รักษา "อาการ" ของความดันเลือดสูง แต่เรา "ป้องกัน" โรคที่จะตามมาในอนาคต ซึ่งถ้าโรคแทรกเกิดขึ้นแล้วอาจแก้ไข "รักษา" ไม่ทันจนเสียชีวิตหรือพิการได้ การป้องกันไว้ก่อนย่อม ดีกว่าตามรักษาทีหลัง
ความดันเลือดสูงก็มีข้อดีอยู่เหมือนกัน เพราะเป็น "สัญญาณ" บอกให้รู้ว่า การใช้ชีวิตที่ผ่านมาของเราคง จะไม่สอดคล้องกับธรรมชาติในร่างกายของเรา เช่น เรากินอาหารไขมัน น้ำตาลสูงเกินกว่าที่อวัยวะในร่างกายเราจะใช้หมด และกำจัดออกได้ทัน จึงสะสมในตัวเราจนน้ำหนักเกิน อ้วนลงพุง ทำ ให้ไขมัน น้ำตาลในเลือดสูง และความดันเลือดสูงขึ้นตามมา หรือดื่มแอลกอฮอล์มากเกินกว่าที่ตับจะทำลายได้หมด แอลกอฮอล์ในเลือดจึงสูงกระตุ้นให้ความดันเลือดสูงตามมา เป็นต้น
ความดันเลือดสูงมีสาเหตุหลายอย่าง เช่น การนอนกรนและหยุดหายใจเป็นระยะ ในเวลาหลับ (sleep apnea) ยาบางชนิด โรคไต โรคหลอดเลือดแดง เป็นต้น แต่อาหาร ก็เป็นสาเหตุที่สำคัญอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับความดันเลือดสูง เราจึงสามารถจะใช้อาหารในการช่วยลดความดันเลือดที่สูงเกินปกติได้
แบบแผนอาหารลดความดันเลือดสูง (DASH dietary pattern)
อาหารที่ได้รับการพิสูจน์ในผู้ป่วยความดันเลือดสูงแล้วว่า สามารถลดความดันเลือดได้ผลดี คือ อาหารแดช (DASH ซึ่งย่อมาจาก Dietary Approach to Stop Hypertension) หรืออาหารหยุดความดันเลือดสูง จากการศึกษาในประชากรชาวอเมริกันที่ความดันเลือดปกติและสูงปานกลางจำนวน ๕๐๐ กว่ารายในเวลา ๘ สัปดาห์ พบว่าอาหารแดชนี้สามารถลดความดันเลือดทั้งตัวบนและความดันเลือดตัวล่างได้อย่างชัดเจน (ได้ผลพอๆ กับกินยาลดความดันเลือดหนึ่งตัว) โดยไม่เกิดผลข้างเคียงใดๆ ในขณะที่ผู้ที่กินอาหารอเมริกันทั่วไป ไม่พบว่าความดันเลือดลดลง และถ้ากินอาหารแดชร่วมกับการลดการกินเกลือโซเดียมในอาหาร จะยิ่งลดความดันเลือดได้เพิ่มขึ้น
แต่เนื่องจากวิธีการกินอาหารดังกล่าวใช้วิธีการแบบฝรั่ง ซึ่งแนะนำให้กินอาหารแต่ละประเภทเป็น "serving" (หนึ่ง serving ประมาณหนึ่งฝ่ามือ หรือเป็นปริมาณที่กินใน ๑ ครั้ง) เช่น ให้กินผลไม้ ๓-๔ serving ต่อวัน ซึ่งยากในการปฏิบัติสำหรับคนไทยทั่วไป จึงขอดัดแปลงวิธีการดังกล่าวให้ง่ายในการปฏิบัติ คือ
๑. กินอาหารต่อไปนี้เพิ่มขึ้นประมาณ ๒ เท่าจากเดิมที่เคยกิน คือ
- ผัก หรือ ผลิตภัณฑ์จากพืช โดยเฉพาะผักสด เช่น ผักจิ้มน้ำพริก ส้มตำ ยำ
- ผลไม้ โดยเฉพาะผลไม้สดจะให้คุณค่าอาหารมากกว่าการคั้นน้ำ หรือที่ทำสำเร็จรูปบรรจุกล่อง (สำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน ต้องลดการกินผลไม้ลง ถ้าคุมระดับน้ำตาลไม่ได้)
- ธัญพืช เช่น ข้าวกล้อง ถั่ว งาดำ เป็นต้น
- ปลานึ่ง ปลาต้ม (จะดีกว่าปลาทอด หรือแฮมเบเกอร์ปลา ซึ่งจะมีไขมันสูง)
- นมพร่องมันเนย หรือ นมปราศจากมันเนย หรือนมถั่วเหลือง
๒. กินอาหารต่อไปนี้ลดลงประมาณครึ่งหนึ่งจากเดิมที่เคยกิน คือ
- อาหารรสเค็มและปริมาณเกลือโซเดียม เช่น น้ำปลา ซีอิ๊ว เต้าเจี้ยว ผงชูรส อาหารสำเร็จรูป เป็นต้น
- อาหารรสหวาน เช่น น้ำอัดลม ลูกอม ขนมหวาน ไอศกรีม ขนมเค้ก คุกกี้ ฟาสต์ฟู้ด เป็นต้น
- อาหารรสมัน เช่น ไขมันสัตว์ และผลิตภัณฑ์สัตว์
- เนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว เป็ด ไก่ ห่าน ไม่ติดหนังติดมัน เป็นต้น
วิธีการเริ่มกินอาหารลดความดันเลือดสูง อาจจะเปลี่ยนชนิดอาหารทีละอย่าง ครั้งละน้อยๆ และค่อยๆ เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่ชอบกินอาหารรสจัด ต้องลดการปรุงแต่งเติมเสริมรสชาติลงอย่างน้อยครึ่งหนึ่ง และใช้เวลาประมาณ ๒-๓ สัปดาห์กว่าลิ้นของเราจะคุ้นเคยกับอาหารรสปรุงแต่งลดลง และเป็นธรรมชาติมากขึ้น
การจำกัดปริมาณอาหารที่กิน โดยเฉพาะอาหารไขมันและคาร์โบไเดรต และเพิ่มการออกกำลังกาย เพื่อเผาผลาญพลังงานส่วนเกินในร่างกาย ทำให้น้ำหนักลดลง ถ้าน้ำหนักลดลงได้อย่างน้อยร้อยละ ๑๐ ของน้ำหนักตัว ก็สามารถทำให้ความดันเลือดลดลงได้
นอกจากนี้ คุณผู้ชายที่ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ ควรลดปริมาณเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ดื่มลง เช่น ลดลงเหลือ เบียร์วันละ ๒ กระป๋อง ไวน์วันละครึ่งแก้ว เป็นต้น (ผู้หญิงลดการดื่มลงครึ่งหนึ่งของผู้ชาย) ส่วนผู้ที่ไม่ได้ดื่ม ก็ไม่แนะนำให้ดื่ม เพราะแอลกอฮอล์ทำให้ความดันเลือดสูงขึ้นได้
เมื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในด้านอาหารประมาณ ๒-๓ สัปดาห์แล้ว ควรจะวัดความดันเลือดเปรียบเทียบกับความดันเลือดก่อนปรับเปลี่ยนอาหาร ถ้าความดันเลือดยังไม่ลดลงอย่างชัดเจน เช่น ๕-๑๐ มิลลิเมตรปรอท ก็ควรจะปรับลดอาหารหวาน มัน เค็ม และเนื้อสัตว์เพิ่มขึ้น หรือปรึกษานักโภชนาการ บุคลากรสาธารณสุข เพื่อให้คำแนะนำเพิ่มเติมในการลดความดันเลือดต่อไป
การป้องกันความดันเลือดสูงและพฤติกรรมสุขภาพ
ผู้ที่วัดความดันเลือดหลายๆ ครั้งได้สูงกว่า 120/80 มิลลิเมตรปรอท แต่ยังไม่เป็นโรคความดันเลือดสูง
(ยังไม่เกิน 140/90 มิลลิเมตรปรอท) ควรจะป้องกันการเกิดโรคความดันเลือดสูง โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและไม่ต้องกินยา (non-drug lifestyle modifications)
ส่วนผู้ที่เป็นโรคความดันเลือดสูงที่กินยาลดความดัน อยู่ ก็ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมด้วยเสมอ เพื่อลดการใช้ยาลงเหลือเท่าที่จำเป็น และลดผลข้างเคียงจากการใช้ยาขนาดสูงและหลายๆตัว แต่ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากกว่าผู้ที่ยังไม่เป็นโรค และทำอย่างต่อเนื่องทุกวัน ถ้ามีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และลดยาลงเหลือ 1 ชนิด โดยควบคุม ความดันเลือดได้เกินกว่า 1 ปี แพทย์ก็สามารถให้หยุดยาได้
ผู้ป่วยไม่ควรหยุดยาเอง เพราะรู้สึกสบายดีหรือตรวจวัดความดันเลือดไม่สูง หรือเพราะผลข้างเคียงของยา การหยุดยาเองแอาจทำให้ความดันเลือดสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนเกิดอันตรายได้
สรุป
ความดันเลือดสูงเป็นโรคที่สำคัญของคนไทย โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ เพราะเป็นสาเหตุการเสียชีวิตและพิการอันดับต้นๆ ของคนไทย การปรับเปลี่ยนวิธีการกินอาหารให้เหมาะกับสภาพร่างกาย โดยการกินอาหารลดความดันเลือดสูง เป็นวิธีที่ง่าย ประหยัดและมีประโยชน์คุ้มค่า ซึ่งนอกจากจะลดความดันเลือดโดยพึ่งการใช้ยาลดความดันเลือดน้อยลงแล้ว ยังทำให้ลดโอกาสที่จะเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้อีกด้วย
มะเร็งลำไส้..! (imp)"ตะลึง"
....คุณหมอพรทิพย์เขียนไว้ว
(yes) เค้าว่า "อุจจาระตกค้าง" เนื่องมาจาก
(lips) 1. เคี้ยวอาหารไม่ละเอียด
(apple) 2. กินอาหารที่มีกากใยน้อย
(snow) 3. มีพยาธิ หรือ เชื้อรา ทำให้ระบบย่อยอาหารผิดปกติ
(drop) 4. ระบบดูดซึมเสีย เพราะน้ำมันพืชเคลือบทำให้น
(sun) 5. ไม่ถ่ายอุจจาระเวลา 05.00-07.00 เช้า
(toilet) หากถ่ายอุจจาระ หลังเวลา 7 โมงเช้า
(poop) ลำไส้จะบีบให้อุจจาระขึ้นไป
(poop) ฉะนั้น ทุกวันที่ถ่าย มันก็ถ่ายเฉพาะอึที่เหลวพอ ส่วนที่เหลือ ก็เกาะไปเรื่อยๆ อุจจาระตกค้างจะไปทับเส้นเลือดต่างๆ ในกระเพาะ และกดทับกระดูกหลัง ทำให้เกิดอาการมากมายเช่นท้
(rage) นั่นแหละเป็นที่มา..ที่คุณห
(gasp!) การนำอุจจาระตกค้างออกจึงจำ
(content) แต่ถ้าสามารถได้รับการตรวจด
(at last!) สำหรับท่านที่ไม่สะดวกในการ
(tearsofjoy) 1. เม็ดแมงลัก 2 ช้อนชา ผสมน้ำ 1 แก้ว ทิ้งไว้ 30 นาที ดื่มก่อนนอน เม็ดแมงลักจะลากอุจจาระตกค้างออกมา ทานเป็นปกติได้ทุกวันหรือ 3-4 วันต่อสัปดาห์ แล้วแต่จะชอบ
(exasperated) 2. นมสด 2 กล่อง (รวมจะได้ประมาณ 500 มิลลิลิตร) และ กล้วยน้ำว้า 2 ลูก ทานก่อน 6 โมงเช้า ช่วงแรกควรทานติดกัน 3 วัน หากถ่ายก่อน 7 โมงเช้าเป็นปกติได้แล้ว ก็ลดมาเป็นสัปดาห์ละ 2 ครั้ง หรือ ตามที่เห็นสมควร
(yummy) 3. ทานผักบุ้ง 2 กำมือ ผัด หรือ ต้ม ทำอาหารตามใจชอบผักบุ้งจะลา
ความดันเลือดสูงเป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนไทยโดยเฉพาะคนที่อยู่ในเมือง
เฉลี่ยแล้ว ทุกๆ ๕ คนจะมีผู้ที่เป็นโรคความ ดันเลือดสูง ๑ คน อายุยิ่งมาก ยิ่งมีโอกาสเป็นโรคความ ดันเลือดสูงมากขึ้นตาม ดังนั้น ผู้ที่อายุมากกว่า ๓๕ ปี ทุกคนควรได้รับการตรวจวัดความดันเลือดอย่างน้อยปีละครั้ง
ถ้าความดันเลือดเฉลี่ยจากการวัดหลายๆ ครั้งในเวลา ๑-๒ สัปดาห์ เกินกว่า ๑๔๐/๙๐ มิลลิเมตรปรอท ก็ถือว่าเป็นโรคความ ดันเลือดสูง
ผู้ที่เป็นโรคความดันเลือดสูงมักจะไม่มีอาการใดๆ บอกว่าความดันเลือดสูง แต่อาจจะมาด้วยอาการแรก คือเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือแม้แต่หมดสติ จากหลอดเลือดสมองตีบ แตก หรือ ตัน ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ ๑ ในหญิงไทย และอันดับ ๒ ในชายไทย หรืออาจจะมาด้วยอาการเจ็บหน้าอก จากหลอดเลือดหัวใจตีบตันจนหัวใจขาดเลือด หรือเจ็บหน้าอกจากหลอดเลือดใหญ่ฉีกขาด ต้องได้ รับการรักษาอย่างรีบด่วน มิฉะนั้น อาจเกิดอันตรายถึง กับเสียชีวิตได้ เป็นต้น
ดังนั้น แม้ว่าเราจะไม่มีอาการผิดปกติอะไรก็ตามเมื่อความดันเลือดสูง แต่เราก็ต้องหาวิธีทำให้ความ ดันเลือดอยู่ในระดับปกติ โดยไม่ได้รักษา "อาการ" ของความดันเลือดสูง แต่เรา "ป้องกัน" โรคที่จะตามมาในอนาคต ซึ่งถ้าโรคแทรกเกิดขึ้นแล้วอาจแก้ไข "รักษา" ไม่ทันจนเสียชีวิตหรือพิการได้ การป้องกันไว้ก่อนย่อม ดีกว่าตามรักษาทีหลัง
ความดันเลือดสูงก็มีข้อดีอยู่เหมือนกัน เพราะเป็น "สัญญาณ" บอกให้รู้ว่า การใช้ชีวิตที่ผ่านมาของเราคง จะไม่สอดคล้องกับธรรมชาติในร่างกายของเรา เช่น เรากินอาหารไขมัน น้ำตาลสูงเกินกว่าที่อวัยวะในร่างกายเราจะใช้หมด และกำจัดออกได้ทัน จึงสะสมในตัวเราจนน้ำหนักเกิน อ้วนลงพุง ทำ ให้ไขมัน น้ำตาลในเลือดสูง และความดันเลือดสูงขึ้นตามมา หรือดื่มแอลกอฮอล์มากเกินกว่าที่ตับจะทำลายได้หมด แอลกอฮอล์ในเลือดจึงสูงกระตุ้นให้ความดันเลือดสูงตามมา เป็นต้น
ความดันเลือดสูงมีสาเหตุหลายอย่าง เช่น การนอนกรนและหยุดหายใจเป็นระยะ ในเวลาหลับ (sleep apnea) ยาบางชนิด โรคไต โรคหลอดเลือดแดง เป็นต้น แต่อาหาร ก็เป็นสาเหตุที่สำคัญอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับความดันเลือดสูง เราจึงสามารถจะใช้อาหารในการช่วยลดความดันเลือดที่สูงเกินปกติได้
แบบแผนอาหารลดความดันเลือดสูง (DASH dietary pattern)
อาหารที่ได้รับการพิสูจน์ในผู้ป่วยความดันเลือดสูงแล้วว่า สามารถลดความดันเลือดได้ผลดี คือ อาหารแดช (DASH ซึ่งย่อมาจาก Dietary Approach to Stop Hypertension) หรืออาหารหยุดความดันเลือดสูง จากการศึกษาในประชากรชาวอเมริกันที่ความดันเลือดปกติและสูงปานกลางจำนวน ๕๐๐ กว่ารายในเวลา ๘ สัปดาห์ พบว่าอาหารแดชนี้สามารถลดความดันเลือดทั้งตัวบนและความดันเลือดตัวล่างได้อย่างชัดเจน (ได้ผลพอๆ กับกินยาลดความดันเลือดหนึ่งตัว) โดยไม่เกิดผลข้างเคียงใดๆ ในขณะที่ผู้ที่กินอาหารอเมริกันทั่วไป ไม่พบว่าความดันเลือดลดลง และถ้ากินอาหารแดชร่วมกับการลดการกินเกลือโซเดียมในอาหาร จะยิ่งลดความดันเลือดได้เพิ่มขึ้น
แต่เนื่องจากวิธีการกินอาหารดังกล่าวใช้วิธีการแบบฝรั่ง ซึ่งแนะนำให้กินอาหารแต่ละประเภทเป็น "serving" (หนึ่ง serving ประมาณหนึ่งฝ่ามือ หรือเป็นปริมาณที่กินใน ๑ ครั้ง) เช่น ให้กินผลไม้ ๓-๔ serving ต่อวัน ซึ่งยากในการปฏิบัติสำหรับคนไทยทั่วไป จึงขอดัดแปลงวิธีการดังกล่าวให้ง่ายในการปฏิบัติ คือ
๑. กินอาหารต่อไปนี้เพิ่มขึ้นประมาณ ๒ เท่าจากเดิมที่เคยกิน คือ
- ผัก หรือ ผลิตภัณฑ์จากพืช โดยเฉพาะผักสด เช่น ผักจิ้มน้ำพริก ส้มตำ ยำ
- ผลไม้ โดยเฉพาะผลไม้สดจะให้คุณค่าอาหารมากกว่าการคั้นน้ำ หรือที่ทำสำเร็จรูปบรรจุกล่อง (สำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน ต้องลดการกินผลไม้ลง ถ้าคุมระดับน้ำตาลไม่ได้)
- ธัญพืช เช่น ข้าวกล้อง ถั่ว งาดำ เป็นต้น
- ปลานึ่ง ปลาต้ม (จะดีกว่าปลาทอด หรือแฮมเบเกอร์ปลา ซึ่งจะมีไขมันสูง)
- นมพร่องมันเนย หรือ นมปราศจากมันเนย หรือนมถั่วเหลือง
๒. กินอาหารต่อไปนี้ลดลงประมาณครึ่งหนึ่งจากเดิมที่เคยกิน คือ
- อาหารรสเค็มและปริมาณเกลือโซเดียม เช่น น้ำปลา ซีอิ๊ว เต้าเจี้ยว ผงชูรส อาหารสำเร็จรูป เป็นต้น
- อาหารรสหวาน เช่น น้ำอัดลม ลูกอม ขนมหวาน ไอศกรีม ขนมเค้ก คุกกี้ ฟาสต์ฟู้ด เป็นต้น
- อาหารรสมัน เช่น ไขมันสัตว์ และผลิตภัณฑ์สัตว์
- เนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว เป็ด ไก่ ห่าน ไม่ติดหนังติดมัน เป็นต้น
วิธีการเริ่มกินอาหารลดความดันเลือดสูง อาจจะเปลี่ยนชนิดอาหารทีละอย่าง ครั้งละน้อยๆ และค่อยๆ เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่ชอบกินอาหารรสจัด ต้องลดการปรุงแต่งเติมเสริมรสชาติลงอย่างน้อยครึ่งหนึ่ง และใช้เวลาประมาณ ๒-๓ สัปดาห์กว่าลิ้นของเราจะคุ้นเคยกับอาหารรสปรุงแต่งลดลง และเป็นธรรมชาติมากขึ้น
การจำกัดปริมาณอาหารที่กิน โดยเฉพาะอาหารไขมันและคาร์โบไเดรต และเพิ่มการออกกำลังกาย เพื่อเผาผลาญพลังงานส่วนเกินในร่างกาย ทำให้น้ำหนักลดลง ถ้าน้ำหนักลดลงได้อย่างน้อยร้อยละ ๑๐ ของน้ำหนักตัว ก็สามารถทำให้ความดันเลือดลดลงได้
นอกจากนี้ คุณผู้ชายที่ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ ควรลดปริมาณเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ดื่มลง เช่น ลดลงเหลือ เบียร์วันละ ๒ กระป๋อง ไวน์วันละครึ่งแก้ว เป็นต้น (ผู้หญิงลดการดื่มลงครึ่งหนึ่งของผู้ชาย) ส่วนผู้ที่ไม่ได้ดื่ม ก็ไม่แนะนำให้ดื่ม เพราะแอลกอฮอล์ทำให้ความดันเลือดสูงขึ้นได้
เมื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในด้านอาหารประมาณ ๒-๓ สัปดาห์แล้ว ควรจะวัดความดันเลือดเปรียบเทียบกับความดันเลือดก่อนปรับเปลี่ยนอาหาร ถ้าความดันเลือดยังไม่ลดลงอย่างชัดเจน เช่น ๕-๑๐ มิลลิเมตรปรอท ก็ควรจะปรับลดอาหารหวาน มัน เค็ม และเนื้อสัตว์เพิ่มขึ้น หรือปรึกษานักโภชนาการ บุคลากรสาธารณสุข เพื่อให้คำแนะนำเพิ่มเติมในการลดความดันเลือดต่อไป
การป้องกันความดันเลือดสูงและพฤติกรรมสุขภาพ
ผู้ที่วัดความดันเลือดหลายๆ ครั้งได้สูงกว่า 120/80 มิลลิเมตรปรอท แต่ยังไม่เป็นโรคความดันเลือดสูง
(ยังไม่เกิน 140/90 มิลลิเมตรปรอท) ควรจะป้องกันการเกิดโรคความดันเลือดสูง โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและไม่ต้องกินยา (non-drug lifestyle modifications)
ส่วนผู้ที่เป็นโรคความดันเลือดสูงที่กินยาลดความดัน อยู่ ก็ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมด้วยเสมอ เพื่อลดการใช้ยาลงเหลือเท่าที่จำเป็น และลดผลข้างเคียงจากการใช้ยาขนาดสูงและหลายๆตัว แต่ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากกว่าผู้ที่ยังไม่เป็นโรค และทำอย่างต่อเนื่องทุกวัน ถ้ามีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และลดยาลงเหลือ 1 ชนิด โดยควบคุม ความดันเลือดได้เกินกว่า 1 ปี แพทย์ก็สามารถให้หยุดยาได้
ผู้ป่วยไม่ควรหยุดยาเอง เพราะรู้สึกสบายดีหรือตรวจวัดความดันเลือดไม่สูง หรือเพราะผลข้างเคียงของยา การหยุดยาเองแอาจทำให้ความดันเลือดสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนเกิดอันตรายได้
สรุป
ความดันเลือดสูงเป็นโรคที่สำคัญของคนไทย โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ เพราะเป็นสาเหตุการเสียชีวิตและพิการอันดับต้นๆ ของคนไทย การปรับเปลี่ยนวิธีการกินอาหารให้เหมาะกับสภาพร่างกาย โดยการกินอาหารลดความดันเลือดสูง เป็นวิธีที่ง่าย ประหยัดและมีประโยชน์คุ้มค่า ซึ่งนอกจากจะลดความดันเลือดโดยพึ่งการใช้ยาลดความดันเลือดน้อยลงแล้ว ยังทำให้ลดโอกาสที่จะเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้อีกด้วย