เงินถุงแดงนี้ เป็นเงินส่วนพระองค์ของพระเ
พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 ทรงมีความรู้ความสามารถในด้
หลายท่านอาจคิดว่า"เงินถุงแ
เมื่อปี พ.ศ. 2431 ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่5 เกิดการล่าอาณานิคมเป็นวงกว้
ในปี พ.ศ. 2436หรือที่เรียกกันว่า วิกฤตการณ์ ร.ศ.112 ด้วยแสนยานุภาพของเรือรบและ
เรือรบฝรั่งเศสได้หันปากกระ
ปัญหาต่อมาคือ จะหาเงินเหรียญที่ไหนไปชดใช
เล่ากันว่าต้องใช้คนลากรถเข
จากภาพ ลักษณะเงินถุงแดงในพระคลังข
นักการเมืองยื่นปลา พระราชายื่นเบ็ด
นักการเมืองแจกแท็บเล็ต กษัตริย์แนะเคล็ดวิชา
นักการเมืองห่วงอำนาจ มหาราชห่วงประชา
นักการเมืองสร้างสัญญา องค์เจ้าฟ้าสร้างสรรธรรม
นักการเมืองหาเรื่องกิน องค์ภูมินทร์หาเรื่องทำ...
นักการเมืองยุให้รำฯ ใน หลวงย้ำให้ทำดี
นักการเมืองมักแบ่งขั้ว องค์เหนือหัวไม่แบ่งสี
นักการเมืองทำสี่ปี องค์ภูมีทำทุกวัน
นักการเมืองชอบแบ่งเสียง พ่อพอเพียงชอบแบ่งปัน
นักการเมืองคิดสั้น องค์ราชันย์คิดยาว
นักการเมืองแจกแท็บเล็ต กษัตริย์แนะเคล็ดวิชา
นักการเมืองห่วงอำนาจ มหาราชห่วงประชา
นักการเมืองสร้างสัญญา องค์เจ้าฟ้าสร้างสรรธรรม
นักการเมืองหาเรื่องกิน องค์ภูมินทร์หาเรื่องทำ...
นักการเมืองยุให้รำฯ ใน หลวงย้ำให้ทำดี
นักการเมืองมักแบ่งขั้ว องค์เหนือหัวไม่แบ่งสี
นักการเมืองทำสี่ปี องค์ภูมีทำทุกวัน
นักการเมืองชอบแบ่งเสียง พ่อพอเพียงชอบแบ่งปัน
นักการเมืองคิดสั้น องค์ราชันย์คิดยาว
ประวัติศาสตร์และความหมาย"ร ัฐประหาร"
การรัฐประหารครั้งแรกของประ เทศไทย เกิดขึ้นเมื่อวันที่1เมษายน พ.ศ.2476 โดยพระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นได้ปร ะกาศพระราชกฤษฎีกาปิดสภาผู้ แทนราษฎร พร้อมงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาต รา ด้วยเหตุสืบเนื่องมาจากการท ี่นายปรีดี พนมยงค์นำเสนอเค้าโครงเศรษฐ กิจที่เข้าข่ายหรือคล้ายคลึ งการปกครองแบบระบบคอมมิวนิส ต์ จึงก่อให้เกิดความเห็นขัดแย ้งกันอย่างรุนแรงในหมู่ของค ณะราษฎรด้...วยกันเองและบรรดาข้าราชการ ซึ่งนำโดย3ใน4ทหารเสือประกอ บไปด้วย 1พระยาทรงสุรเดช 2พระยาฤทธิอัคเนย์ และ3พระประศาสน์พิทยายุทธ เข้าสนับสนุนพระยามโนปกรณ์ฯ คัดค้านเค้าโครงเศรษฐกิจฉบั บนี้
โดยความตอนหนึ่งในคำแถลงการ ณ์ปิดสภาฯของพระยามโนปกรณ์น ิติธาดา ความว่า
...ในคณะรัฐมนตรีเกิดการแตก แยกเป็น2 พวก มีความเห็นแตกต่างกัน ความเห็นข้างน้อยนั้นปรารถน าที่จะวางนโยบายเศรษฐกิจที่ มีลักษณะเป็นคอมมิวนิสต์ ความเห็นข้างมากนั้นเห็นว่า นโยบายเช่นนั้นจักนำมาซึ่งค วามหายนะแก่ประชาราษฎร และเป็นมหันตภัยแก่ความมั่น คงของประเทศ... จากนั้นจึงยกพวกไปล้อมบ้านพ ักของนายปรีดี เป็นเหตุให้ต้องใช้พระราชกฤ ษฎีกาปิดสภาผู้แทนราษฎร พร้อมงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาต รา ซึ่งถือได้ว่าเป็นการ”รัฐปร ะหารเงียบ” พร้อมบีบบังคับนายปรีดีไปที ่ประเทศฝรั่งเศส และได้ออกพระราชบัญญัติป้อง กันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิ สต์ พ.ศ. 2476 ออกมาใช้ด้วย
ต่อไปเรามาทำความเข้าใจความ หมายของการรัฐประหารกันนะคร ับ รัฐประหารก็คือการล้มล้างรั ฐบาลหรือผู้บริหารปกครองรัฐ ในขณะนั้น แต่ไม่ใช่เป็นการล้มล้างระบ อบการปกครองและไม่จำเป็นต้อ งใช้ความรุนแรงจนก่อให้เกิด เหตุการนองเลือดเสมอไป เช่นหากกลุ่มทหารเห็นว่า รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง นั้นบริหารประเทศชาติผิดพลา ดสร้างความเสียหาย ประชาชนในประเทศได้รับความเ ดือนร้อน ผู้ก่อการจึงจำเป็นต้องบังค ับให้รัฐบาลพ้นจากอำนาจโดยก ารประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ หรือประกาศให้มีการเลือกตั้ งใหม่ภายในเวลาที่กำหนด
ดังนั้นการที่ทหารออกมาในคร ั้งนี้ก็เพื่อรักษาความสงบส ุขของบ้านเมืองขจัดความขัดแ ย้ง โดยเข้ามาเปลี่ยนตัวหัวหน้า รัฐบาลหรือผู้ปกครองประเทศ จากนั้นจึงจัดตั้งคณะรัฐบาล ชุดใหม่ที่อยู่ภายใต้การรัฐ ประหารขึ้นมา โดยที่รูปแบบการปกครองไม่ได ้เปลี่ยนแปลงไปแต่อย่างใด มีแต่ตัวผู้นำและคณะผู้นำเท ่านั้นที่เปลี่ยนแปลงไป ในฐานะที่เราเป็นประชาชนควร ทำหน้าที่ประจำวันตามปรกติ งดการชุมนุมหลีกเลี่ยงการปล ุกระดมจนนำไปสู่การเผชิญหน้ า"เพื่อความสงบสุขของราชอาณ าจักรไทย"
การรัฐประหารครั้งแรกของประ
โดยความตอนหนึ่งในคำแถลงการ
...ในคณะรัฐมนตรีเกิดการแตก
ต่อไปเรามาทำความเข้าใจความ
ดังนั้นการที่ทหารออกมาในคร
จากภาพคือ นายปรีดี พนมยงค์และพระยามโนปกรณ์นิต ิธาดา
Cr.คลังประวัติศาสตร์ไทย
Cr.คลังประวัติศาสตร์ไทย