

ขอส่งท้ายวันวิสาขบูชา ด้วยปัจฉิมโอวาทของพระพุทธเจ้า
...ย่างเข้าปัจฉิมยาม ณ ใต้ต้นสาละคู่แห่งกุสินารานคร
มีพระผู้มีพระภาคเจ้าพึงปรินิพพานอยู่ในที่นั้น
และพรั่งพร้อมด้วยพุทธบริษัทเนืองแน่นเป็นปริมณฑลทอดไกลสุดสายตา...
พระธรรมที่พระองค์ทรงพร่ำสอนมาตลอดพระชนมชีพ
ว่าสัตว์ทั้งหลายมีความตายเป็นที่สุดนั้น
เป็นสัจธรรมที่ไม่ยกเว้นแม้แต่พระองค์เอง
" ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เป็นวาระสุดท้ายแห่งเราแล้ว เราขอเตือนพวกเธอทั้งหลายให้จำมั่นไว้ว่าสิ่งทั้งปวงมีเสื่อมและสิ้นไปเป็นธรรมดา เธอทั้งหลายจงอยู่ด้วยความไม่ประมาทเถิด ”
พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ทำวันนี้เยี่ยงเป็นวันสุดท้ายของชีวิต
นั่นคือ ทำวันนี้ให้ดีที่สุด เพื่อจะได้ไม่เสียใจ หากไม่มีพรุ่งนี้
ถ้าเราถามตัวเองว่า ถ้าเราตายวันนี้เราจะเสียใจไหม
ถ้ามีคำตอบว่าเรายังอยากทำอะไรอีก
พึงทำแต่วันนี้ เตรียมให้พร้อม ทำให้เสร็จ...
เพราะทุกสิ่งนี้ ล้วนสิ้นไปเป็นธรรมดา See More
...ย่างเข้าปัจฉิมยาม ณ ใต้ต้นสาละคู่แห่งกุสินาราน
มีพระผู้มีพระภาคเจ้าพึงปริ
และพรั่งพร้อมด้วยพุทธบริษั
พระธรรมที่พระองค์ทรงพร่ำสอ
ว่าสัตว์ทั้งหลายมีความตายเ
เป็นสัจธรรมที่ไม่ยกเว้นแม้
" ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เป็นวาระสุดท้ายแห่งเ
พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ทำวันน
นั่นคือ ทำวันนี้ให้ดีที่สุด เพื่อจะได้ไม่เสียใจ หากไม่มีพรุ่งนี้
ถ้าเราถามตัวเองว่า ถ้าเราตายวันนี้เราจะเสียใจ
ถ้ามีคำตอบว่าเรายังอยากทำอ
พึงทำแต่วันนี้ เตรียมให้พร้อม ทำให้เสร็จ...
เพราะทุกสิ่งนี้ ล้วนสิ้นไปเป็นธรรมดา

เป็นวันอัฏฐมีบูชา คือ วันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระ
วันอัฏฐมีบูชา คือวันอะไร ตรงกับวันที่เท่าไหร่ ปัจจุบันแทบไม่เห็นปรากฎบนป
ทั้งที่ วันอัฏฐมีบูชา เป็น วันสำคัญทางพุทธศาสนา ที่นับจาก วันวิสาขบูชา ไปเพียง 8 วัน หรือกล่าวคือ วันอัฏฐมีบูชา ตรงกับวันแรม 8 ค่ำ เดือน 6 ทั้งนี้ หากปีใดมีอธิกมาส หรือมี 366 วัน วันอัฏฐมีบูชา ก็จะถูกเลื่อนไปตรงกับวันแร
วันอัฏฐมีบูชา คือวันอะไร มีความสำคัญอย่างไร
สำหรับ วันอัฏฐมีบูชา หรือ วันอัฏฐมี คือ วันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระ
ด้วยเหตุนี้ เมื่อ วันอัฏฐมีบูชา เวียนมาบรรจบในแต่ละปี พุทธศาสนิกชนจึงพร้อมใจกันป
ประวัติ วันอัฏฐมีบูชา
ตามประวัติ วันอัฏฐมีบูชา ระบุไว้ว่า หลังจากพระพุทธเจ้าเสด็จปริ
จากนั้น ก็ให้พวกเจ้ามัลละระดับหัวห
ในการนี้ พระอนุรุทธะ จึงแจ้งว่า "เพราะเทวดามีความประสงค์ให
หลังจากที่พระเพลิงเผาไหม้พ
และเมื่อบรรดากษัตริย์จากแค
"พระผู้มีพระภาคเจ้าของเรา ทรงสรรเสริญขันติ สรรเสริญสามัคคีธรรม การที่เราจะมาประหัตประหารเ
เมื่อ โทณพราหมณ์ ได้เสนอให้แบ่งพระบรมสารีริ
1. กษัตริย์ลิจฉวี ทรงสร้างเจดีย์บรรจุไว้ที่เ
2. กษัตริย์ศากยะ ทรงสร้างเจดีย์บรรจุไว้ที่เ
3. กษัตริย์ถูลิยะ ทรงสร้างเจดีย์บรรจุไว้ที่เ
4. กษัตริย์โกลิยะ ทรงสร้างเจดีย์บรรจุไว้ที่เ
5. มหาพราหมณ์ สร้างเจดีย์บรรจุไว้ที่เมือ
6. กษัตริย์มัลละแห่งเมืองปาวา
7. พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงสร้างเจดีย์บรรจุไว้ที่เ
8. มัลลกษัตริย์แห่งกุสินารา ทรงสร้างเจดีย์บรรจุไว้ที่เ
9. กษัตริย์เมืองโมริยะ ทรงสร้างสถูปบรรจุพระอังคาร
10. โทณพราหมณ์ สร้างสถูปบรรจุทะนานตวงพระบ
การประกอบพิธี วันอัฏฐมีบูชา
ปัจจุบันการประกอบพิธี วันอัฏฐมีบูชา ในประเทศไทย มีเพียงบางวัดเท่านั้นที่จะ

"...ให้พิจารณาว่า
เราต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจเป็นธรรมดา
เรามีอะไรอยู่ก็ใช้ไปเถอะ
แต่บอกตัวเองว่า ใช้ไม่เท่าใดดอกมันจะจากเราไป
ไม่เท่าใดดอก เราจะต้องจากมันไป ...
ไม่มีอะไรจะอยู่กับเราตลอดไป
บอกไว้อย่างนั้นเตรียมเนื้อเตรียมตัว บอกตัวเองไว้ล่วงหน้า
พอมีเหตุการณ์พลัดพรากเกิดขึ้น
เราก็ร้องอ๋อ ! ได้ เออ? กูว่าไว้นานแล้ว ว่ามันจะเป็นอย่างนั้น
เราก็ไม่ต้องเป็นทุกข์มากเกินไป
...คนเราเวลาเกิดไม่ได้เอาอะไรมา เวลาไปก็ไม่ได้เอาอะไรไป
สิ่งทั้งหลายที่เราได้ใช้ได้กินอยู่ในชีวิตประจำวันนี้
ถือว่าเป็นของยืมมาทั้งนั้น ยืมมาชั่วคราว
ยืมแล้วต้องส่งคืนเอาไปไม่ได้ พอเราจะไปก็ส่งคืนเขา
ทรัพย์สมบัติก็ส่งคืนธรรมชาติ ร่างกายก็ส่งคืนธรรมชาติ
ไม่มีอะไรที่เรียกว่าเป็นเนื้อแท้
เรานึกอย่างนั้น ใจก็ไม่ยึดมากเกินไป
มีทรัพย์สมบัติก็ใช้ไปตามหน้าที่ บำรุงศาสนา บำรุงสาธารณกุศล
อะไรพอจะช่วยได้ก็ช่วยไปตามเรื่อง
ใช้สมบัติให้เป็นประโยชน์แก่ตัวแก่ท่านตามสมควรแก่ฐานะ
พอถึงบทที่เราจะจากไป เราก็อย่าไปอาลัยอาวรณ์
ว่าเออ เสียดายสิ่งนั้น เสียดายสิ่งนี้ ไม่เข้าเรื่องเป็นทุกข์เปล่าๆ"
(ส่วนหนึ่งของปาฐกถาธรรม : หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ)


เราต้องพลัดพรากจากของรักขอ
เรามีอะไรอยู่ก็ใช้ไปเถอะ
แต่บอกตัวเองว่า ใช้ไม่เท่าใดดอกมันจะจากเรา
ไม่เท่าใดดอก เราจะต้องจากมันไป ...
ไม่มีอะไรจะอยู่กับเราตลอดไ
บอกไว้อย่างนั้นเตรียมเนื้อ
พอมีเหตุการณ์พลัดพรากเกิดข
เราก็ร้องอ๋อ ! ได้ เออ? กูว่าไว้นานแล้ว ว่ามันจะเป็นอย่างนั้น
เราก็ไม่ต้องเป็นทุกข์มากเก
...คนเราเวลาเกิดไม่ได้เอาอ
สิ่งทั้งหลายที่เราได้ใช้ได
ถือว่าเป็นของยืมมาทั้งนั้น
ยืมแล้วต้องส่งคืนเอาไปไม่ไ
ทรัพย์สมบัติก็ส่งคืนธรรมชา
ไม่มีอะไรที่เรียกว่าเป็นเน
เรานึกอย่างนั้น ใจก็ไม่ยึดมากเกินไป
มีทรัพย์สมบัติก็ใช้ไปตามหน
อะไรพอจะช่วยได้ก็ช่วยไปตาม
ใช้สมบัติให้เป็นประโยชน์แก
พอถึงบทที่เราจะจากไป เราก็อย่าไปอาลัยอาวรณ์
ว่าเออ เสียดายสิ่งนั้น เสียดายสิ่งนี้ ไม่เข้าเรื่องเป็นทุกข์เปล่
(ส่วนหนึ่งของปาฐกถาธรรม : หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ)

โกวเล้งเขียนในนิยายตอนหนึ่งว่า
"ชีวิตคนเราจะมีสิบปีสักกี่ครั้งกัน"
ถ้าคนเราอายุเฉลี่ย 70 ปี
เราก็มี 10 ปีแค่ 7 ครั้ง...
๐ สิบปีแรก..หมดไปกับความไร้เดียงสา
๐ สิบปีต่อมา..หมดไปกับการศึกษาเล่าเรียน
๐ สิบปีต่อมา.หมดไปกับการทำงานและการใช้ชีวิต
๐ สิบปีต่อมา..หมดไปกับการสร้างฐานะ สร้างครอบครัว
๐ สิบปีต่อมา..หมดไปกับการลงหลักปักฐาน รักษาสิ่งที่สร้างมา
๐ สิบปีต่อมา..หมดไปกับการดูแลรักษาสุขภาพกาย-ใจให้แข็งแรง
๐ สิบปีสุดท้าย..หมดไปกับการปล่อยวางทุกสิ่ง รอคอยการกลับบ้าน
แต่ละสิบปีผ่านไป...ไวเหมือนโกหก อีกไม่นานปีนี้ก็จะผ่านไป มีอะไรที่เราทำไปแล้วมากมาย และก็ยังมีอะไรอีกมากมายที่เรายังไม่ได้ทำ
เรารู้ว่าเราใช้ "สิบปี" ของเราไปกี่ครั้งแล้ว
แต่เราไม่อาจรู้ว่า...เราจะใช้ "สิบปี" ที่เหลือของเราได้ครบมั้ย?
แต่นั่นก็ไม่สำคัญเท่ากับว่าเราใช้เวลาสิบปีของเราไปคุ้มค่าหรือเปล่า?
เมื่อเราหันหลังกลับมาขอให้พูดได้เต็มปากว่าเราใช้มันไปอย่างไม่น่าเสียดาย
ชีวิตคนเราจะมี "สิบปี" สักกี่ครั้งกัน
ใช้สิบปี ทั้งเจ็ดครั้งของเราให้คุ้มค่า
"ชีวิตคนเราจะมีสิบปีสักกี่
ถ้าคนเราอายุเฉลี่ย 70 ปี
เราก็มี 10 ปีแค่ 7 ครั้ง...
๐ สิบปีแรก..หมดไปกับความไร้เ
๐ สิบปีต่อมา..หมดไปกับการศึก
๐ สิบปีต่อมา.หมดไปกับการทำงา
๐ สิบปีต่อมา..หมดไปกับการสร้
๐ สิบปีต่อมา..หมดไปกับการลงห
๐ สิบปีต่อมา..หมดไปกับการดูแ
๐ สิบปีสุดท้าย..หมดไปกับการป
แต่ละสิบปีผ่านไป...ไวเหมือ
เรารู้ว่าเราใช้ "สิบปี" ของเราไปกี่ครั้งแล้ว
แต่เราไม่อาจรู้ว่า...เราจะ
แต่นั่นก็ไม่สำคัญเท่ากับว่
เมื่อเราหันหลังกลับมาขอให้
ชีวิตคนเราจะมี "สิบปี" สักกี่ครั้งกัน
ใช้สิบปี ทั้งเจ็ดครั้งของเราให้คุ้ม
