จีนเปิดรักษา มะเร็งฟรีโดยไม่ใช้คีโม เพื่อเทอดพระเกียรติ ในหลวง(หายขาด)มีประโยชน์มาก!!
ข่าวดีสำหรับผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็ง!
ใครมีญาติที่เป็นมะเร็ง โดยเฉพาะ ระยะสุดท้าย
ตอนนี้ มีเครื่องรักษาโดยไม่ต้องผ่าตัด ชื่อเครื่อง HIFU
เป็นเทคโนโลยีร่วมพัฒนา ญี่ปุ่น กับ จีน ยิงฆ่าเซลล์มะเร็ง
จากภายนอก ไม่เจ็บ มีเครื่องเดียวในไทยและเป็นเครื่องทันสมัยที่สุด ในเอเชีย ติดต่อ.. ศูนย์การแพทย์ มศว. องครักษ์ ได้ตั้งแต่วันนี้ เวลาราชการ เป็นโรงพยาบาลในสังกัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรท องครักษ์ Tel. 037-395085-6
ช่วยส่งต่อด้วยค่ะ
ทางด่วนชีวิต กล้ามเนื้อหัวใจตาย-เสี้ยวนาทีแห่งชีวิต
"บันทึกประสบการณ์จากผู้เยี่ยมสำรวจสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล สะท้อนความรู้สึกดีๆ ที่คุณหมอ (บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข) มุ่งมั่นพัฒนา เพื่อให้คนไข้ปลอดภัย หายจากโรค และมีความสุข"
"บันทึกประสบการณ์จากผู้เยี่ยมสำรวจสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล สะท้อนความรู้สึกดีๆ ที่คุณหมอ (บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข) มุ่งมั่นพัฒนา เพื่อให้คนไข้ปลอดภัย หายจากโรค และมีความสุข"
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เกิดจากหลอดเลือดหัวใจอุดตัน ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับเลือดไม่เพียงพอกับความต้องการกล้ามเนื้อหัวใจส่วนที่ขาดเลือด จะตาย ถ้ากล้ามเนื้อตายปริมาณมากคนไข้จะหัวใจวาย และเสียชีวิต เรามักได้ข่าวบ่อยๆ แม้แต่คนที่แข็งแรง นักกีฬาระดับโลกก็ยังหัวใจวายขณะแข่งขัน นักกีฬาบางคนเกิดเหตุในสนามแข่งที่มีทีมปฐมพยาบาลและอุปกรณ์ครบครัน ก็ยังไม่สามารถช่วยชีวิตได้ โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันนั้น ต้องได้รับการวินิจฉัยและให้การรักษาที่ทันท่วงที ทุกนาทีที่ผ่านไปหมายถึงโอกาสรอดของคนไข้ที่ลดลง
คนไข้หลายคนเสียชีวิตระหว่างเดินทางไปโรงพยาบาล คนไข้บางคนแม้มาถึงโรงพยาบาลแล้วก็ยังไม่รอด คนไข้รายหนึ่งได้รับการส่งต่อจากโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งไปโรงพยาบาลศูนย์ โดยมีการติดต่อกันล่วงหน้าระหว่างหมอทั้ง ๒ โรงพยาบาล ทางโรงพยาบาลศูนย์เตรียมทีมหมอ พยาบาล อุปกรณ์และยาไว้พร้อม เมื่อคนไข้มาถึงโรงพยาบาลศูนย์ ขณะที่พยาบาลกำลังจะฉีดยาเข้าเส้น คนไข้หัวใจหยุดเต้น และไม่อาจกู้ชีวิตได้สำเร็จ คนไข้คนนี้มาช้าเกินไป เพราะการเดินทางระหว่าง ๒ โรงพยาบาล ใช้เวลามากกว่า ๑ ชั่วโมง
ชายวัยกลาง คนขับรถมาที่แผนกฉุกเฉินของโรงพยาบาลเขาจอดรถหน้าห้องฉุกเฉิน บอกพนักงานเปลว่า "เจ็บหน้าอก ขอพบหมอ" แต่พนักงานเวรเปลบอกเขาว่าเขาจอดรถขวางทาง ให้ขับไปจอดที่ลานจอดรถ เนื่องจากทางเข้าแผนกฉุกเฉินของโรงพยาบาลเป็นเนินสูง และจอดรถได้ทีละไม่เกิน ๒ คัน เมื่อรถมาส่งคนไข้แล้วต้องขับออกไปทันที คนไข้มาคนเดียว เขาจึงยื่นกุญแจให้พนักงานเปลขับรถลงไปจอดให้ แต่พนักงานเปลปฏิเสธเพราะว่าขับรถไม่เป็น คนไข้จึงต้องขับรถไปจอดที่ลานจอดรถด้านล่าง แล้วเดินขึ้นเนินมาใหม่ แล้วเขาก็เกิดอาการหัวใจหยุดเต้นที่หน้าห้องแผนกฉุกเฉินนั่นเอง ทีมหมอและพยาบาลต้องระดมกันมาช่วยกู้ชีวิตฉุกเฉิน ผลสุดท้ายคนไข้รอดชีวิต ท่ามกลางความโกลาหล และขวัญที่กระเจิงของพนักงานเปลคนนั้น เหตุการณ์วันนั้นโรงพยาบาลต้องเรียกประชุมผู้เกี่ยวข้อง และกำหนดมาตรการการดูแลคนไข้ฉุกเฉิน โดยให้พยาบาลห้องฉุกเฉินไปดูแลคนไข้ภาวะวิกฤติที่รถ สำหรับโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ได้ร่วมกันจัดทำแนวทางปฏิบัติสื่อสารให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับทราบสภาพของโรคและการปฏิบัติต่อคนไข้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตามภาระหน้าที่ของแต่ละคน
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ที่มาด้วยอาการเจ็บหน้าอกจะมีอาการเจ็บแน่นทันที เจ็บคล้ายถูกรัดจนหายใจไม่ออกนานกว่า ๑-๒ นาที คนไข้มักมีประวัติของโรคหัวใจขาดเลือดมาก่อน เช่น เจ็บหน้าอกเวลาเครียด โกรธ ทำงานเหนื่อย หรือออกกำลังกาย อาการจะดีขึ้นด้วยการหยุดพัก บางรายที่ได้รับการรักษาแล้ว เมื่ออมยาขยายหลอดเลือดที่ใต้ลิ้น อาการเจ็บหน้าอกจะทุเลา โรคหัวใจขาดเลือดที่นำไปสู่กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญในห้องฉุกเฉิน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับยาละลายลิ่มเลือด และ/หรือการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดภายในเวลาที่ทันท่วงที ก่อนที่กล้ามเนื้อหัวใจจะตายมากจนหัวใจหยุดเต้น
เป้าหมายการรักษาที่มีประสิทธิภาพนั้น คือ การทำให้เลือดกลับมาไหลผ่านหลอดเลือดที่อุดตันอย่างเร็วที่สุด เพื่อให้กล้ามเนื้อหัวใจที่ขาดเลือดฟื้นคืนกลับ มาทำงานได้มากที่สุด เพราะฉะนั้นคนไข้ควรได้รับยาละลายลิ่มเลือดหรือได้รับการสวนหัวใจด้วยลูกโป่งขยายหลอดเลือด (บอลลูน) เร็วที่สุด หลายโรงพยาบาลตั้งเกณฑ์มาตรฐานในเรื่องเวลาดังนี้
เมื่อคนไข้มาถึงห้องฉุกเฉิน จนถึงการได้รับยาละลายลิ่มเลือด (Door to Drug time) ต้องน้อยกว่า ๓๐ นาที และหากต้องสวนหัวใจด้วยลูกโป่งขยายหลอดเลือด (Door to Ballon time) ต้องน้อยกว่า ๙๐ นาที สำหรับคนไทย คนไข้หัวใจขาดเลือด เมื่อเกิดอาการเจ็บหน้าอกเฉียบพลัน มักเข้ารับการบำบัดรักษาจากสถานพยาบาลใกล้บ้านก่อน ซึ่งไม่มีแพทย์เฉพาะทางและทีมงาน ทำให้การวินิจฉัยล่าช้า เมื่อเกิดความไม่แน่ใจ ก็อาจส่งต่อคนไข้ไม่ทัน หรือแม้ว่าส่งคนไข้ถึงโรงพยาบาลใหญ่แล้ว กว่าจะตามทีมได้ก็หลายขั้นตอนและต้องใช้เวลา ศูนย์โรคหัวใจโรงเรียนแพทย์แห่งหนึ่งหาทางแก้ปัญหา ดังกล่าวด้วยกระบวนการทางด่วน (Fast track) โดยจัดสร้างเครือข่ายการดูแลคนไข้กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน สำหรับโรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาบาลชุมชนในจังหวัด และจังหวัดใกล้เคียง จัดทีมให้คำปรึกษาผ่านระบบสารสนเทศ มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้
เมื่อโรงพยาบาลในเครือข่ายพบคนไข้ที่มีอาการน่าสงสัย ให้ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) แล้วส่งแฟกซ์มาที่ศูนย์โรคหัวใจ ซึ่งมีหมอพร้อมให้คำปรึกษาตลอด ๒๔ ชั่วโมง เมื่อหมอผู้เชี่ยวชาญคิดว่าใช่ ให้ส่งคนไข้มาที่แผนกฉุกเฉิน พร้อมประทับตรา "Fast track" ที่ใบส่งตัวคนไข้ โดยทีมงานของโรงเรียนแพทย์จะเตรียมพร้อมรอรับคนไข้ ผลการดำเนินงานในระยะเริ่มโครงการพบว่า เวลาเฉลี่ยที่ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอกจนมาถึงแผนฉุกเฉิน ๑๙๖.๕ นาที ระยะเวลาตั้งแต่มาถึงแผนกฉุกเฉินจนถึงการเข้าอยู่ในห้องบริบาลคนไข้หนักโรคหัวใจ (CCU) ๑๔ นาที ระยะเวลาที่คนไข้มาถึงแผนกฉุกเฉินจนได้รับยาละลายลิ่มเลือด ๓๒.๕ นาที และถ้าคนไข้ที่ต้องสวนบอลลูน จะสามารถทำได้ในเวลา ๘๒ นาที
ท่ามกลางข้อจำกัดด้านทรัพยากร ท่ามกลางความขาดแคลนบุคลากรและทีมงานของโรงพยาบาลทุกระดับ เครือข่ายสามารถพัฒนางานได้ผลเทียบเท่าประเทศที่มีพัฒนาการทางการแพทย์ระดับก้าวหน้า สามารถช่วยให้คนไข้รอดชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากภูมิภาคต่างๆ ได้รับการสนับสนุนการจัดตั้งเครือข่ายในลักษณะนี้ ก็จะเป็นโชคดีของคนไข้โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันอย่างทั่วถึง
เมื่อคนไข้มาถึงห้องฉุกเฉิน จนถึงการได้รับยาละลายลิ่มเลือด (Door to Drug time) ต้องน้อยกว่า ๓๐ นาที และหากต้องสวนหัวใจด้วยลูกโป่งขยายหลอดเลือด (Door to Ballon time) ต้องน้อยกว่า ๙๐ นาที สำหรับคนไทย คนไข้หัวใจขาดเลือด เมื่อเกิดอาการเจ็บหน้าอกเฉียบพลัน มักเข้ารับการบำบัดรักษาจากสถานพยาบาลใกล้บ้านก่อน ซึ่งไม่มีแพทย์เฉพาะทางและทีมงาน ทำให้การวินิจฉัยล่าช้า เมื่อเกิดความไม่แน่ใจ ก็อาจส่งต่อคนไข้ไม่ทัน หรือแม้ว่าส่งคนไข้ถึงโรงพยาบาลใหญ่แล้ว กว่าจะตามทีมได้ก็หลายขั้นตอนและต้องใช้เวลา ศูนย์โรคหัวใจโรงเรียนแพทย์แห่งหนึ่งหาทางแก้ปัญหา ดังกล่าวด้วยกระบวนการทางด่วน (Fast track) โดยจัดสร้างเครือข่ายการดูแลคนไข้กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน สำหรับโรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาบาลชุมชนในจังหวัด และจังหวัดใกล้เคียง จัดทีมให้คำปรึกษาผ่านระบบสารสนเทศ มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้
เมื่อโรงพยาบาลในเครือข่ายพบคนไข้ที่มีอาการน่าสงสัย ให้ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) แล้วส่งแฟกซ์มาที่ศูนย์โรคหัวใจ ซึ่งมีหมอพร้อมให้คำปรึกษาตลอด ๒๔ ชั่วโมง เมื่อหมอผู้เชี่ยวชาญคิดว่าใช่ ให้ส่งคนไข้มาที่แผนกฉุกเฉิน พร้อมประทับตรา "Fast track" ที่ใบส่งตัวคนไข้ โดยทีมงานของโรงเรียนแพทย์จะเตรียมพร้อมรอรับคนไข้ ผลการดำเนินงานในระยะเริ่มโครงการพบว่า เวลาเฉลี่ยที่ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอกจนมาถึงแผนฉุกเฉิน ๑๙๖.๕ นาที ระยะเวลาตั้งแต่มาถึงแผนกฉุกเฉินจนถึงการเข้าอยู่ในห้องบริบาลคนไข้หนักโรคหัวใจ (CCU) ๑๔ นาที ระยะเวลาที่คนไข้มาถึงแผนกฉุกเฉินจนได้รับยาละลายลิ่มเลือด ๓๒.๕ นาที และถ้าคนไข้ที่ต้องสวนบอลลูน จะสามารถทำได้ในเวลา ๘๒ นาที
ท่ามกลางข้อจำกัดด้านทรัพยากร ท่ามกลางความขาดแคลนบุคลากรและทีมงานของโรงพยาบาลทุกระดับ เครือข่ายสามารถพัฒนางานได้ผลเทียบเท่าประเทศที่มีพัฒนาการทางการแพทย์ระดับก้าวหน้า สามารถช่วยให้คนไข้รอดชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากภูมิภาคต่างๆ ได้รับการสนับสนุนการจัดตั้งเครือข่ายในลักษณะนี้ ก็จะเป็นโชคดีของคนไข้โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันอย่างทั่วถึง
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย ได้แก่ บุหรี่ สำหรับคนที่สูบมานานหลายสิบปี และคิดว่ามาเลิกเมื่อแก่จะไม่มีประโยชน์ เป็นความเข้าใจผิด เพราะมีหลักฐานยืนยันว่า ถ้างดบุหรี่ได้ ๒ ปี อัตราเสี่ยงต่อการเกิดอาการจะลดลงเหลือพอๆ กับคนที่ไม่เคยสูบบุหรี่มาก่อน สำหรับคนที่เป็นเบาหวาน ความดันเลือดสูง ไขมันในเลือดสูง ควรดูแลรักษาตนเองให้ดี เพื่อควบคุมโรคเหล่านี้ เพราะเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญเช่นกัน ณ วันนี้โรงพยาบาลต่างๆ ได้พัฒนาการดูแลรักษาคนไข้โรคหัวใจขาดเลือด โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน หลายแห่งจัดระบบ "ทางด่วน" โดยมุ่งเป้าหมายเพื่อความปลอดภัยและอยู่รอดอย่างมีคุณภาพชีวิตของคนไข้ แม้จะยังไม่สามารถให้บริการได้ครบถ้วนกระบวนการตามเป้าหมายและหลายแห่งยังพบจุดอ่อนในระบบ แต่ก็เป็น "ทางด่วนชีวิต" ที่เต็มไปด้วยความหวัง และอาจเป็น "ทางด่วนชีวิต" สำหรับชีวิตเราเอง
การป้องกันโรคหัวใจ
นพ.ดำรง หมอประจำ ในหลวง.....มีคำแนะนำดีๆ สำหรับการป้องกันโรคหัวใจ คือให้ทานวิตามิน B 1, 6, 12 และ B 9 เพียง 2 อย่างนี้ อย่างละเม็ดก่อนนอน…. คุณหมอรับประกันว่า จะไม่เป็นโรคหัวใจเลย
สำหรับเรื่องคอเลสเตอรอลสูง และไตรกลีเซอไรด์สูงนั้น คุณหมอยืนยันว่า เป็นเรื่องทางธุรกิจการแพทย์ และเรื่องผลประโยชน์ทางการค้าที่มหาศาล โดยกำหนดให้คนปกติ มีระดับคอเลสเตอรอลไม่เกิน 200 และไตรกลีเซอไรด์ไม่เกิน 150 ซึ่งยาที่ให้ทานหากคอเลสเตอรอลสูงกว่าเกณฑ์นั้น มีผลเสียต่อร่างกายอย่างมาก… ไขมันไม่ได้ถูกขับออกจากร่างกาย แต่จะย้ายไขมัน ไปไว้ที่ตับแทน และยังเป็นสาเหตุสำคัญของโรคหัวใจ… กับผู้ที่ทานยาลดคอเลสเตอรอล ในที่สุดก็เป็นโรคหัวใจกันเป็นแถวๆ
คุณหมอบอกว่า จากการวิจัยที่บอสตัน 30 ปีที่แล้ว ยังคงเป็นจริงคือ คนเราจะมีคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ ได้มากเท่าไรนั้น ขึ้นอยู่กับไขมันตัวดี ที่เรียกว่า HDL หากเรามี HDL สูง แม้ว่า คอเลสเตอรอลสูงและไตรกลีเซอไรด์สูง เราก็ปลอดภัย ไม่ต้องทานยา วิธีดูระดับปลอดภัยให้คำนวณดังนี้
คอเลสเตอรอล: ให้เอา ค่าคอเลสเตอรอลตั้ง หารด้วยค่า HDL หากได้ผลลัพท์ไม่เกิน 4 จัดว่าอยู่ในเกณฑ์ดี ไม่ต้องทานยา แม้ว่า คอเลสเตอรอลจะสูงถึง 300 ก็ตาม
ไตรกลีเซอไรด์: ให้เอา ค่าไตรกลีเซอไรด์ตั้ง หารด้วยค่า HDL หากได้ผลลัพท์ไม่เกิน 3 จัดว่าอยู่ในเกณฑ์ดี ไม่ต้องทานยา แม้ว่า ไตรกลีเซอไรด์จะสูงเกิน 150 ก็ตาม
ทั้งคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ ล้วนมีประโยชน์ต่อร่างกายอย่างมากมาย
================
การทำเมมโมแกรม เป็นอันตราย เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งเต้านม ที่เราไม่รู้กันเลย… ว่าการบีบอย่างแรง สมทบด้วยรังสี...… ตอนนี้อัตราการเป็นมะเร็งเต้านมของเมืองไทย พุ่งสูงติดอันดับของโลกแล้ว… คุณหมอบอกว่า ในต่างประเทศ เขาเลิกใช้เครื่องเมมโมแกรมกันนานแล้ว........
ดื่มน้ำเย็น&อาการปวดหลัง
ใครจะไปเชื่อว่า..การดื่มน้ำเย็นจะมีพิษมีภัย และให้โทษได้ถึงขนาดนี้
หมอ ได้พบผู้ป่วยที่มีอาการแขนขาอ่อนแรง หรือ ที่เรียกกันว่าโรคอัมพฤกษ์
ซึ่งสืบค้นต้นตอไปๆมาๆ ก็พบว่า สาเหตุมาจากพฤติกรรมการดื่มน้ำเย็น หรือ น้ำแข็งเป็นประจำนั่นเอง ผู้ป่วยเล่าให้ฟังว่า ไม่กินผักมาตั้งแต่เล็กๆ รับประทานแต่เนื้อสัตว์ ที่สำคัญคือชอบดื่มน้ำเย็นเป็นประจำมาตั้งแต่เด็ก และต้องเป็นน้ำเย็นจากตู้เย็นเท่านั้น
ก่อนที่จะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงนั้น ร่างกายผู้ป่วยได้ส่งสัญญาณเตือนมาหลายครั้ง เช่น มึนเวียนศีรษะง่าย เห็นเหมือนแสงไฟแวบๆขณะกระพริบตา
การพูดเริ่มติดๆขัดๆ สุดท้ายเกิดอาการวูบกะทันหัน ต้องนำส่งโรงพยาบาล เมื่อรู้สึกตัวอีกครั้งผู้ป่วยก็ไม่สามารถขยับร่างกายซีกซ้ายได้แล้ว นี่คืออาการของโรคเส้นเลือดตีบที่สมองในวัยเพียง 40 ปี ที่ชอบทานแต่น้ำเย็นมาตลอดเวลา
การดื่มน้ำเย็น สำหรับคนไทยนั้น ทำให้ ไต ต้องรับกำจัดความเย็นออกจากร่างกายอย่างรวดเร็ว ขับน้ำเย็นมากักเก็บไว้ที่กระเพาะปัสสาวะ เตรียมขับออกเป็นน้ำปัสสาวะ ทำให้ผู้ที่ชอบทานน้ำเย็นก็ยิ่งขาดน้ำ จนเลือดข้นหนืดไปหมด
ประกอบกับหลอดเลือดที่เริ่มแข็งกระด้างไม่ยืดหยุ่น ทำให้มีคราบไขมัน และ
ของเสียไปยึดเกาะตามผนังหลอดเลือดจนเกิดการพอกพูนกลายเป็นโรคหลอดเลือดตีบ ก็เพราะน้ำเย็นที่ชอบทานเป็นประจำนั่นเอง
ไตของเราเปรียบเสมือนเครื่องกรองน้ำอันน่าอัศจรรย์ ทำหน้าที่ช่วยกรองของเสียออกจากเลือด แล้วขับออกทางปัสสาวะ การทำหน้าที่ตลอด 24 ชม.ไม่มีวันหยุดของไตนั้น ถ้าเราไปซ้ำเติม ด้วยการรับประทานสิ่งที่เป็นพิษต่อร่างกายรวมทั้งน้ำเย็นด้วย ก็จะทำให้เกิดภาวะไตอ่อนแอ และจะส่งสัญญาณร้องให้เราทราบดังนี้
1. ปัสสาวะบ่อยขึ้น อั้นปัสสาวะไม่ได้นาน ดื่มน้ำเข้าไปแล้วต้องวิ่งเข้าห้องน้ำบ่อยๆ กลางคืนก็ต้องลุกขึ้นเข้าห้องน้ำหลายเที่ยว
2. มีอาการปวดหลัง ปวดเอวบ่อยๆ โดยเฉพาะเวลานั่งนานๆ
3. ปวดเมื่อยตามข้อ และ ร่างกายง่าย เช่น ปวดข้อเข่า ปวดต้นคอ
4. หลอดเลือดตีบตัน หรือ หลอดเลือดแข็งได้ง่าย
หากใครยังทานน้ำเย็น นมเย็น กาแฟเย็น น้ำอัดลม น้ำหวานเย็น ชาเย็น อยู่เป็นประจำ มีอาการปวดหลังแน่ๆ ก็ต้องดูแลตนเองง่ายๆ ดังนี้
1. ปรับเลือดที่หนืดข้นให้หายข้น ด้วยการเพิ่มน้ำเข้ากระแสเลือด โดยทานน้ำอุ่นให้ได้ 8-10 แก้ว ทุกวัน
2. ทำให้เลือดไหลเวียนสะดวกอย่างต่อเนื่อง ด้วยการออกกำลังเป็นประจำที่สามารถทำได้ หรือ อาจใช้การจัดกระดูก ช่วยให้เลือดไหลเวียนสม่ำเสมอ
3. ไม่กินอาหารเนื้อสัตว์ ของทอด ของหวานจัด เพราะทำให้เกิดอนุมูลอิสระปริมาณมาก จนทำให้หลอดเลือดแข็ง หรือ ตีบตันได้ง่าย
4. งดการทานน้ำเย็นเด็ดขาด รู้แล้วอย่าเฉยเมยนะ ควรปฎิบัติด้วย และรู้แล้วอย่าเก็บไว้คนเดียว โปรดแบ่งปันให้คนรอบข้างของตัวเรา