มารดาของครูอาจารย์มั่นปฏิบ
นั่งก็ภาวนานอนก็ภาวนาได้สา
ท่านอาจารย์มั่น จึงถามมารดา มารดาตอบว่า ...
"นางภิกษุโคตมี นางอุบลวรรณาเถรีภิกษุณี นางยโสธราพิมพาภิกษุ ได้มาเยี่ยม นับตั้งแต่นี้ไปอีก ๒๐ วัน แม่ออกจะได้ละขันธ์"
พอถึงเวลานั้น พอครบวันที่ยี่สิบ แม่ออกของท่านอาจารย์ก็ทิ้ง
อันนี้จึงเป็นเครื่องแสดงว่
เรื่องนี้ ท่านอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ ท่านก็เล่าให้อาตมาฟังด้วย เหมือนกัน....
ในคัมภีร์พระพุทธศาสนานั้น เคยมีเรื่องเล่าไว้เป็นหลัก
เมื่อใจของพระคุณเจ้าทั้งหล
ข้าพเจ้า อาตมาภาพ พระอาจารย์ตื้อ พุทธคุณ ธัมมคุณ สังฆคุณ ขอถวายไว้เป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา แด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ทุกพระองค์
(ธรรมเทศนาหลวงปู่ตื้อ อจลธัมโม) See More
หลวงพ่อชาสอนว่าความสงบมีสอ
แม่ออกของเพิ่นครูอาจารย์มั ่นบวชเป็นแม่ขาวแม่ชีที่วัด หนองน่อง..... เพิ่นลงมาแต่วัดป่าบ้านค้อ เมืองอุดร… มาหาเพิ่นครูอาจารย์เสาร์อย ู่วัดถ้ำจำปาเพื่อให้เพิ่นค รูอาจารย์เสาร์เป็นผู้บวชแล ะสอนธรรมะให้.... แก้ไขให้แก่คุณแม่ชีจันทร์ (แก่นแก้ว)
จนที่สุดคนเฒ่าได้ธรรมะอริย ภูมิชั้นพระอนาคามี หนีไปได้ไม่ลงมาอีกแล้ว (ไม่กลับมาเกิด)
แต่เพิ่นครูอาจารย์มั่นผู้เ ป็นลูกชายบอกสอนไม่ได้หรอกค นเฒ่าไม่ยอมฟังคำ หากวันไหนที่เพิ่นครูอาจารย์มั่นสอนธร รมะบอกอุบายธรรมให้กับคนเฒ่ า เป็นอันว่าต้องอ้างเหตุอ้าง ผลกันอยู่เสมอ
แต่พอเพิ่นครูอาจารย์เสาร์บ อกสอนอุบายธรรมไม่กี่คำหรอก คนเฒ่าก็เอาไปแก้ไขตัวเองภา ยในของตัวเอง
นั่งภาวนาจนสว่างไสวไปทั่วถ ้ำ แจ้งสว่างไปทั้งหมดในถ้ำที่ คนเฒ่านั่งภาวนาอยู่ เหตุเพราะว่าคุณแม่ชีคนเฒ่า เคยเป็นลูกศิษย์ของเพิ่นครู อาจารย์เสาร์มาหลายภพชาติชี วิต บอกว่าอันใด สอนอันใดก็เชื่อฟังหมด แต่กับลูกชายของตัวเอง กลับไม่ยอมลงให้กัน
อันนี้แหละ เป็นเหตุที่เพิ่นครูอาจารย์ มั่นหาอุบายเอาคนเฒ่าลงมาแต ่วัดบ้านค้อแล้วมาฝากให้เพิ ่นครูอาจารย์เสาร์แก้ไขช่วย จนคนเฒ่าได้ธรรมะ จนคนเฒ่าว่า
“อยู่นี่ก็ดีอยู่ดอก แต่จิตใจอยากไปอยู่กับอัญญา ท่านเสาร์ อัญญาครูจะว่าอย่างได๋” ผู้เฒ่าปรารภเรียนถามเพิ่นค รูอาจารย์มั่น......เพิ่นครูอาจารย์มั่นก็ว่า
“แล้วแต่เพิ่นครูบาอาจารย์เ พิ่นว่าอย่างใด๋ก็จะเอาอย่า งนั้น”
แล้วเพิ่นครูอาจารย์มั่นก็ข ้ามภูเขาไปกับบ่าวตาซ้นกับพ ่อออก... ไปเรียนปรึกษากับเพิ่นครูอา จารย์เสาร์อยู่ถ้ำจำปา เพิ่นครูอาจารย์เสาร์ก็ตกลง รับให้อยู่ด้วย ชาวบ้านนาคันแทก็จัดทำที่พั กให้คุณแม่ชีผู้เฒ่าให้อยู่ กุฏิไม้ทางหางถ้ำ”
จากธรรมประวัติหลวงปู่จาม See More
จนที่สุดคนเฒ่าได้ธรรมะอริย
แต่เพิ่นครูอาจารย์มั่นผู้เ
แต่พอเพิ่นครูอาจารย์เสาร์บ
นั่งภาวนาจนสว่างไสวไปทั่วถ
อันนี้แหละ เป็นเหตุที่เพิ่นครูอาจารย์
“อยู่นี่ก็ดีอยู่ดอก แต่จิตใจอยากไปอยู่กับอัญญา
“แล้วแต่เพิ่นครูบาอาจารย์เ
แล้วเพิ่นครูอาจารย์มั่นก็ข
จากธรรมประวัติหลวงปู่จาม See More
อุบายธรรมของหลวงปู่มั่น ในการปฏิบัติภาวนา มีต่อไป ดังนี้
ผู้ปฏิบัติจิตภาวนา ถ้าส่งจิตออกไปตามภายนอกจาก
เพราะบรรดาพระธรรมคำสั่งสอน
ดังนั้นกายจึงเป็นสนามรบ กายจึงเป็นยุทธภูมิที่ปัญญา
สัตว์ทั้งหลาย ไม่ว่าชนิดใดในสังสารวัฎนี้
ทำบุญทำบาปก็เพราะกายอันนี้
ในการบวชพระ พระอุปัชฌาย์ ที่จะให้ผ้ากาสายะแก่กุลบุต
“การเจริญภาวนาให้ผลยิ่งกว่ า การรักษาศีล การให้ทาน และการเจริญเมตตา เพราะการภาวนาทำให้มีสติ ไม่หลงทาง ไม่หลงโลก ศีล ทาน เมตตา มีภาวนาเป็นยอดดังนี้”
“การเจริญภาวนาเป็นทางของสุ คติ
หากยังไม่ได้ไม่ถึงก็เป็นอุ ปนิสัยของมรรคผล”
“ธมฺโม จ วินโย จ สุสํวุโต ให้ตั้งใจปฏิบัติพระธรรมพระ วินัยกว้างแคบ ตามความสามารถของตน”
จาก ธรรมประวัติหลวงปู่จาม มหาปุญฺโญ : วัยต้นชีวิต
“การเจริญภาวนาเป็นทางของสุ
หากยังไม่ได้ไม่ถึงก็เป็นอุ
“ธมฺโม จ วินโย จ สุสํวุโต ให้ตั้งใจปฏิบัติพระธรรมพระ
จาก ธรรมประวัติหลวงปู่จาม มหาปุญฺโญ : วัยต้นชีวิต
พระอาจารย์เปลี่ยน ปัญญาปทีโป
ได้เคยถามหลวงปู่เทสก์ในเรื ่องของการนั่งสมาธิว่าเวลาท ี่
ท่านนั่งสมาธิจิตของท่านจะด ิ่งลงลึกโดยที่ตัวท่านเองก็ ไม่ทราบว่าจิตอยู่ที่ไหน...
หลวงปู่เทสก์จึงได้ชี้แจงว่ า อาการเช่นนี้เขาเรียกว่า
“นิพพานพรหม”
..เป็นอาการที่จิตดับจนกระท ั่งไม่ได้ยินเสียง ไม่รับรู้อะไรจากภายนอก ถ้าไม่แก้ไขผู้นั้นก็จะคิดว ่าตนเองได้พบพระนิพพาน และจะ ไปไหนไม่รอด
โดยหลวงปู่เทสก์ได้ยกตัวอย่ างกรณีของหลวงปู่ขาว อนาลโย... ที่นั่งสมาธิตั้งแต่ ๖ โมงเย็นไปจนถึง ๖ โมงเช้าของวันรุ่งขึ้น
...พอน้ำค้างจับร่างของท่าน จนเปียกชุ่มท่านจึงรู้สึกตั วและออกจากสมาธิ
.หลวงปู่ขาวเองท่านก็ไม่ทรา บว่าจิตของท่านไปอยู่ที่ไหน ..จึงได้ไปถามหลวงปู่มั่นแล ะท่านก็ได้รับคำตอบสั้นๆ นิดเดียวเช่นกันว่า
“ให้ไปตั้งต้นใหม่ ติดตามดูจิตตั้งแต่เริ่มเข้ าสมาธิ ใช้สติปัญญาตามดูจิตให้ดีว่ า วางอารมณ์อะไรจึงดับเสียงไป หมด ให้ดูว่าจิตไปอยู่ที่ไหนต้อ งตามให้รู้”
ท่านว่า... “นี่แหละที่เขาเรียกว่าศรัท ธาต้องอยู่คู่กับปัญญา” บวชแล้วก็ต้องมุ่งมั่นปฏิบ ัติอย่างจริงจัง สิ่งแรกที่ควรมีคือความศรัท ธา เพราะศรัทธาคือหนทางนำไปสู่ การปฏิบัติ แต่ศรัทธาควรอยู่ในความพอดี เพราะถ้ามีมากไปปัญญามันจะไ ม่เกิด”
ได้เคยถามหลวงปู่เทสก์ในเรื
ท่านนั่งสมาธิจิตของท่านจะด
หลวงปู่เทสก์จึงได้ชี้แจงว่
“นิพพานพรหม”
..เป็นอาการที่จิตดับจนกระท
โดยหลวงปู่เทสก์ได้ยกตัวอย่
...พอน้ำค้างจับร่างของท่าน
.หลวงปู่ขาวเองท่านก็ไม่ทรา
“ให้ไปตั้งต้นใหม่ ติดตามดูจิตตั้งแต่เริ่มเข้
ท่านว่า... “นี่แหละที่เขาเรียกว่าศรัท
กรรมปรามาสธรรมพระเถระ
ปลายเดือนมีนาคม ๒๕๔๐ หลวงปู่ท่อนท่านให้มาเฝ้าวัดให้ท่าน พักอยู่กับหลวงปู่ท่อนที่วัดศรีอภัยวัน หลวงปู่ท่อนเล่าให้ฟังตอนท่านบวชได้สาม-สี่พรรษา ท่านเคยประมาทพระเถระผู้เฒ่าองค์หนึ่ง ซึ่งตอนนั้นหลวงปู่ท่อนท่านบอกถ้ามองลักษณะภายนอกพระเถระผู้เฒ่าองค์นี้ท่านดูไม่น่าเลื่อมใส หลวงปู่ท่อนท่านจึงนึกประมาทพระเถระผู้เฒ่าองค์นี้ในใจ..
หลังจากท่านประมาทในภูมิธรรมของพระเถระผู้เฒ่าองค์นี้แล้ว ต่อมา ปรากฏว่าเวลาท่านภาวนา จิตของท่านจะลงไม่ถึงความสงบเหมือนแต่ก่อน ทั้งที่แต่ก่อนเวลาภาวนาจิตของท่านจะลงพรวดถึงฐานจิตของสมถะภาวนาได้โดยง่าย นับแต่วันที่ท่านประมาทในธรรมของพระเถระผู้เฒ่าท่านนี้มา จิตของท่านก็กระด้างกระเดื่องในธรรมเพราะกรรมประมาทในธรรมของพระอริยะที่ตนไม่รู้ กรรมนี้จึงส่งผลให้ท่านจิตมัวใจหมองเพราะอกุศลกรรม..
ท่านบอก บางครั้งเราต้องเอาสติเข่นบังคับจิตให้ลงสู่ความสงบ ไม่ต่างอะไรกับเราเอามือข่มลูกฟุตบอลเพื่อให้มันจมลงไปในน้ำ พอปล่อยมือออกแล้วลูกฟุตบอลนั้นก็จะเด้งขึ้นตามแรงกด ท่านอุปมาภายนอกเพื่อเทียบภายในให้ฟัง..
ท่านบอก จิตเราตอนนั้นสงบลงไม่จริง จิตอยู่ได้แค่อุปจาระจร เฉียดไปเฉียดมา อยู่อย่างนั้น ครั้นจะลงถึงสว่างสดใสในชั้นสมถะ ทำอย่างไรมันก็ไปไม่ถึงดั่งที่ตนเองเคยเป็นมา..
ท่านบอกพอท่านภาวนาจิตสงบลงพอวับแวม จะปรากฏเป็นเงาดำทรงกลมขนาดประมาณเท่ากระด้งหรือถาดพาข้าวมาขวางกั้นจิต จิตของท่านจะเป็นลักษณะแบบนี้อยู่นานร่วมเดือน ท่านสงสัยในอาการที่จิตของตนเองเป็นแบบนี้ ท่านเองก็ไม่สามารถหาเหตุผลเพื่อแก้ไขจิตของตนเองได้ในขณะนั้น หลังจากหลวงปู่ท่อนท่านกลับจากเที่ยววิเวกแถวเขตอำเภอท่าลี่ ท่านจึงนำเรื่องนี้ไปปรึกษากับ พระคุณเจ้าหลวงปู่คำดี ปภาโส ที่ วัดถ้ำผาปู่ ต.นาอ้อ อ.เมือง จ.เลย เพื่อให้พ่อแม่ครูบาอาจารย์หลวงปู่คำดีท่านช่วยแก้ไข..
ตอนนั้นหลวงปู่ท่อนท่านบอกหลวงปู่คำดีแค่อาการของจิตที่ตนเองกำลังเป็นอยู่ ท่านยังไม่ได้บอกหลวงปู่คำดีว่าท่านได้นึกประมาทพระเถระผู้เฒ่าองค์หนึ่ง หลวงปู่คำดีท่านชี้ชัดให้ท่านฟังว่า..
“ ท่านท่อน ที่จิตของท่านเป็นแบบนี้ในเวลาภาวนา มันเกิดจากกรรมที่ท่านได้ไปประมาทท่านผู้รู้ธรรม กรรมนี้จึงส่งผลบาปรบกวนจิตของท่านในเวลาที่ท่านภาวนา ให้ท่านระลึกดูซิว่าท่านได้ไปประมาทธรรมท่านผู้หนึ่งผู้ใดไว้หรือไม่ ถ้าท่านหลงไปประมาทพลาดพลั้งท่านผู้รู้ธรรมแล้ว ก็ให้ท่านรีบไปขอขมาท่านเสีย อย่าทิ้งวันทิ้งคืนไว้นานมันไม่เป็นผลดีกับจิตท่าน จิตท่านมันจะวิบัติมากไปกว่านี้ ”..
พอหลวงปู่คำดีท่านว่ามาแบบนี้ หลวงปู่ท่อนท่านบอกตอนนั้นเราใจเสียหมดเลย คิดแวบออกได้ทันทีว่าเราเคยประมาทภูมิข้างในของหลวงพ่อ...ว่าท่านไม่รู้จริง ตอนนั้นตนเองก็ไม่รู้ว่าจะทำยังไงดีเพราะพระเถระผู้เฒ่าท่านนี้ก็เพิ่งจะมรณะภาพไปได้ไม่นาน เราจึงกราบเรียนเรื่องนี้กับหลวงปู่คำดีเพื่อให้ท่านช่วยหาหนทางแก้ไขให้ตนเอง..
หลวงปู่คำดีท่านบอกว่า “ เมื่อท่านมรณะภาพไปแล้วก็ให้ท่านท่อนไปกราบขอขมาที่สถูปกองฟอนของท่าน ให้ท่านท่อนน้อมจิตน้อมใจกราบขมาขออภัยกับท่านพระเถระ ถ้าท่านทำแบบนี้แล้วกรรมของท่านก็จะพ้นไปได้เอง เพราะกรรมนี้ไม่ใช่เวรจองกรรม ”..
หลวงปู่ท่อนท่านจึงเดินทางไปกราบสถูปธาตุพระเถระผู้เฒ่าที่ท่านเคยประมาทล่วงเกิน ท่านน้อมกราบขอขมาลาโทษกรรมที่ตนเองได้เคยประมาทพลาดพลั้งต่อพระเถระผู้เฒ่า..
หลวงปู่ท่อนท่านบอก “ พอจิตใจเราเบาแล้ว เราก็นั่งภาวนาอยู่ข้างเชิงตะกอนที่เผาสรีระพระผู้เฒ่าเพื่อน้อมถวายท่าน เรานั่งภาวนาไม่นานจิตเราก็ลงพรวดสว่างไสวขึ้นมาทันที จิตแต่ก่อนเคยเป็นอย่างไร ทุกอย่างก็กลับมาคืนมาเหมือนเดิม ”..
“ พอจิตอิ่มในความสงบแล้ว เราถอยออกมาพิจารณาในอกุศลธรรม ปัญญาก็พิจารณาละบาปอกุศลในจิตออกทันที เวลาพิจารณาปัญญาไหลออกพรวดๆดั่งสายน้ำหลากลงจากภูเขา จิตปิดบาปอกุศล จิตใจมีความเชื่อมั่นใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และกรรมอย่างหนักแน่นไม่เสื่อมถอย ตั้งแต่นั้นมาจิตเราก็ไม่เคยเสื่อมอีกเลย จิตยืนได้ด้วยกำลังของตนเอง "..
" ธรรมเป็นอกาลิโกกำหนดคาดหมายไม่ได้ พอความสมบูรณ์ของบุญวาสนามาถึงพร้อมกับความเพียรแล้ว ทุกอย่างมันจะเกิดขึ้นเองคาดหมายเวล่ำเวลาไม่ได้ ”..
หลวงปู่ท่อนท่านบอก กรรมประมาทในท่านผู้ทรงธรรมนี้เห็นผลในทันตา อย่างน้อยจิตใจมัวหมอง มีฤทธิ์ก็เสื่อมฤทธิ์ มีฌานก็เสื่อมฌาน มุ่งหวังความสงบได้ยาก ตายไปก็ตกอบายภูมิ ถ้ารู้ตนรู้ตัวว่าตนเองเป็นแบบนี้ก็ให้รีบแก้ในปัจจุบันทันทีอย่าทิ้งไว้นาน พอตายไปแล้วมันแก้ไขไม่ได้ มันสายไปแล้วต้องรับผลกรรมเพียงอย่างเดียว หนักหรือเบาขึ้นอยู่กับการกระทำกรรมของตน..
ปลายเดือนมีนาคม ๒๕๔๐ หลวงปู่ท่อนท่านให้มาเฝ้าวัดให้ท่าน พักอยู่กับหลวงปู่ท่อนที่วัดศรีอภัยวัน หลวงปู่ท่อนเล่าให้ฟังตอนท่านบวชได้สาม-สี่พรรษา ท่านเคยประมาทพระเถระผู้เฒ่าองค์หนึ่ง ซึ่งตอนนั้นหลวงปู่ท่อนท่านบอกถ้ามองลักษณะภายนอกพระเถระผู้เฒ่าองค์นี้ท่านดูไม่น่าเลื่อมใส หลวงปู่ท่อนท่านจึงนึกประมาทพระเถระผู้เฒ่าองค์นี้ในใจ..
หลังจากท่านประมาทในภูมิธรรมของพระเถระผู้เฒ่าองค์นี้แล้ว ต่อมา ปรากฏว่าเวลาท่านภาวนา จิตของท่านจะลงไม่ถึงความสงบเหมือนแต่ก่อน ทั้งที่แต่ก่อนเวลาภาวนาจิตของท่านจะลงพรวดถึงฐานจิตของสมถะภาวนาได้โดยง่าย นับแต่วันที่ท่านประมาทในธรรมของพระเถระผู้เฒ่าท่านนี้มา จิตของท่านก็กระด้างกระเดื่องในธรรมเพราะกรรมประมาทในธรรมของพระอริยะที่ตนไม่รู้ กรรมนี้จึงส่งผลให้ท่านจิตมัวใจหมองเพราะอกุศลกรรม..
ท่านบอก บางครั้งเราต้องเอาสติเข่นบังคับจิตให้ลงสู่ความสงบ ไม่ต่างอะไรกับเราเอามือข่มลูกฟุตบอลเพื่อให้มันจมลงไปในน้ำ พอปล่อยมือออกแล้วลูกฟุตบอลนั้นก็จะเด้งขึ้นตามแรงกด ท่านอุปมาภายนอกเพื่อเทียบภายในให้ฟัง..
ท่านบอก จิตเราตอนนั้นสงบลงไม่จริง จิตอยู่ได้แค่อุปจาระจร เฉียดไปเฉียดมา อยู่อย่างนั้น ครั้นจะลงถึงสว่างสดใสในชั้นสมถะ ทำอย่างไรมันก็ไปไม่ถึงดั่งที่ตนเองเคยเป็นมา..
ท่านบอกพอท่านภาวนาจิตสงบลงพอวับแวม จะปรากฏเป็นเงาดำทรงกลมขนาดประมาณเท่ากระด้งหรือถาดพาข้าวมาขวางกั้นจิต จิตของท่านจะเป็นลักษณะแบบนี้อยู่นานร่วมเดือน ท่านสงสัยในอาการที่จิตของตนเองเป็นแบบนี้ ท่านเองก็ไม่สามารถหาเหตุผลเพื่อแก้ไขจิตของตนเองได้ในขณะนั้น หลังจากหลวงปู่ท่อนท่านกลับจากเที่ยววิเวกแถวเขตอำเภอท่าลี่ ท่านจึงนำเรื่องนี้ไปปรึกษากับ พระคุณเจ้าหลวงปู่คำดี ปภาโส ที่ วัดถ้ำผาปู่ ต.นาอ้อ อ.เมือง จ.เลย เพื่อให้พ่อแม่ครูบาอาจารย์หลวงปู่คำดีท่านช่วยแก้ไข..
ตอนนั้นหลวงปู่ท่อนท่านบอกหลวงปู่คำดีแค่อาการของจิตที่ตนเองกำลังเป็นอยู่ ท่านยังไม่ได้บอกหลวงปู่คำดีว่าท่านได้นึกประมาทพระเถระผู้เฒ่าองค์หนึ่ง หลวงปู่คำดีท่านชี้ชัดให้ท่านฟังว่า..
“ ท่านท่อน ที่จิตของท่านเป็นแบบนี้ในเวลาภาวนา มันเกิดจากกรรมที่ท่านได้ไปประมาทท่านผู้รู้ธรรม กรรมนี้จึงส่งผลบาปรบกวนจิตของท่านในเวลาที่ท่านภาวนา ให้ท่านระลึกดูซิว่าท่านได้ไปประมาทธรรมท่านผู้หนึ่งผู้ใดไว้หรือไม่ ถ้าท่านหลงไปประมาทพลาดพลั้งท่านผู้รู้ธรรมแล้ว ก็ให้ท่านรีบไปขอขมาท่านเสีย อย่าทิ้งวันทิ้งคืนไว้นานมันไม่เป็นผลดีกับจิตท่าน จิตท่านมันจะวิบัติมากไปกว่านี้ ”..
พอหลวงปู่คำดีท่านว่ามาแบบนี้ หลวงปู่ท่อนท่านบอกตอนนั้นเราใจเสียหมดเลย คิดแวบออกได้ทันทีว่าเราเคยประมาทภูมิข้างในของหลวงพ่อ...ว่าท่านไม่รู้จริง ตอนนั้นตนเองก็ไม่รู้ว่าจะทำยังไงดีเพราะพระเถระผู้เฒ่าท่านนี้ก็เพิ่งจะมรณะภาพไปได้ไม่นาน เราจึงกราบเรียนเรื่องนี้กับหลวงปู่คำดีเพื่อให้ท่านช่วยหาหนทางแก้ไขให้ตนเอง..
หลวงปู่คำดีท่านบอกว่า “ เมื่อท่านมรณะภาพไปแล้วก็ให้ท่านท่อนไปกราบขอขมาที่สถูปกองฟอนของท่าน ให้ท่านท่อนน้อมจิตน้อมใจกราบขมาขออภัยกับท่านพระเถระ ถ้าท่านทำแบบนี้แล้วกรรมของท่านก็จะพ้นไปได้เอง เพราะกรรมนี้ไม่ใช่เวรจองกรรม ”..
หลวงปู่ท่อนท่านจึงเดินทางไปกราบสถูปธาตุพระเถระผู้เฒ่าที่ท่านเคยประมาทล่วงเกิน ท่านน้อมกราบขอขมาลาโทษกรรมที่ตนเองได้เคยประมาทพลาดพลั้งต่อพระเถระผู้เฒ่า..
หลวงปู่ท่อนท่านบอก “ พอจิตใจเราเบาแล้ว เราก็นั่งภาวนาอยู่ข้างเชิงตะกอนที่เผาสรีระพระผู้เฒ่าเพื่อน้อมถวายท่าน เรานั่งภาวนาไม่นานจิตเราก็ลงพรวดสว่างไสวขึ้นมาทันที จิตแต่ก่อนเคยเป็นอย่างไร ทุกอย่างก็กลับมาคืนมาเหมือนเดิม ”..
“ พอจิตอิ่มในความสงบแล้ว เราถอยออกมาพิจารณาในอกุศลธรรม ปัญญาก็พิจารณาละบาปอกุศลในจิตออกทันที เวลาพิจารณาปัญญาไหลออกพรวดๆดั่งสายน้ำหลากลงจากภูเขา จิตปิดบาปอกุศล จิตใจมีความเชื่อมั่นใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และกรรมอย่างหนักแน่นไม่เสื่อมถอย ตั้งแต่นั้นมาจิตเราก็ไม่เคยเสื่อมอีกเลย จิตยืนได้ด้วยกำลังของตนเอง "..
" ธรรมเป็นอกาลิโกกำหนดคาดหมายไม่ได้ พอความสมบูรณ์ของบุญวาสนามาถึงพร้อมกับความเพียรแล้ว ทุกอย่างมันจะเกิดขึ้นเองคาดหมายเวล่ำเวลาไม่ได้ ”..
หลวงปู่ท่อนท่านบอก กรรมประมาทในท่านผู้ทรงธรรมนี้เห็นผลในทันตา อย่างน้อยจิตใจมัวหมอง มีฤทธิ์ก็เสื่อมฤทธิ์ มีฌานก็เสื่อมฌาน มุ่งหวังความสงบได้ยาก ตายไปก็ตกอบายภูมิ ถ้ารู้ตนรู้ตัวว่าตนเองเป็นแบบนี้ก็ให้รีบแก้ในปัจจุบันทันทีอย่าทิ้งไว้นาน พอตายไปแล้วมันแก้ไขไม่ได้ มันสายไปแล้วต้องรับผลกรรมเพียงอย่างเดียว หนักหรือเบาขึ้นอยู่กับการกระทำกรรมของตน..
ห มั่ น ร ะ ลึ ก รู้ กาย เวทนา จิต และธรรม
#ประการที่หนึ่ง #รู้กาย มีอะไรบ้าง
กายที่จะต้องระลึกก็มีลมหาย ใจเข้าออก
อิริยาบถใหญ่ทั้ง ๔ คือ ระลึกรู้กาย
ในขณะนั่ง ขณะยืน ขณะเดิน ขณะนอน
นั่งก็ให้รู้เข้ามาที่ท่าทา งของกายที่นั่ง
ยืนก็ให้รู้เข้ามาที่ท่าทาง ของกายที่ยืน
เดินก็รู้การก้าวไปแต่ละก้า ว
นอนก็รู้ในท่าทางของกายที่น อน
นอกจากนี้ก็ให้รู้กายในอิริ ยาบถย่อยด้วย
เช่น การคู้ การเหยียด การก้ม การเงย
การแลไปข้างหน้า เหลียวไปข้างซ้าย
ข้างขวา เดินหน้า ถอยหลัง ขยับตัวเคลื่อนไหวร่างกาย
อิริยาบถย่อยให้พยายามระลึก ให้พยายามรู้สึกตัว
ในชีวิตประจำวันของเราก็จะม ีอย่างนี้
มีลมหายใจเข้าออก มีอิริยาบถยืน
เดิน นั่ง นอน มีการคู้เหยียด เคลื่อนไหว
ให้พยายามระลึกรู้สึกตัว
อยู่ในขณะที่กายกำลังปรากฏอ ย่างนั้น
พยายามอยู่บ่อยๆ เนืองๆ
#ประการที่สอง #รู้เวทนา ระลึกรู้เวทนา
เวทนา ก็คือ การเสวยอารมณ์
สุขเวทนา คือ ความสบาย ทุกขเวทนา คือ ไม่สบาย
อุเบกขาเวทนา คือ เฉยๆ ไม่สุขไม่ทุกข์
ก็พยายามระลึกรู้ถึงความรู้ สึก
เช่น มันไม่สบายก็ระลึกรู้ถึงควา มไม่สบาย
แต่อย่าไปยินร้ายด้วย พยายามฝึกจิตรับรู้
แต่ไม่ยินร้าย ไม่เกลียดชัง ไม่ปฏิเสธ
ไม่กระวนกระวายด้วย เวลามันเกิดสุขเวทนาสบายขึ้ นมา
ไม่ว่าจะเป็นสบายกายสบายใจ
รับรู้แต่ไม่เข้าไปยินดี รู้แล้ววางเฉย
เวลาเกิดอุเบกขาเฉยๆ ก็ให้รู้ ไม่หลง
แล้วสังเกตพิจารณาความเฉยๆ
#ประการที่สาม #รู้จิต
เพียรพยายามให้มีสติสัมปชัญ ญะ
รู้สึกที่จิตใจ เวลาจิตมันคิด
นึกให้รู้ทัน เดี๊ยวมันคิดอีก ก็รู้อีก
รู้ความคิด จิตมันจะแวบไปแวบมา
ซัดส่ายไปในอารมณ์นั้น อารมณ์นี้
คอยติดตามรู้เท่าทันจิตอยู่ เสมอ
#ประการที่สี่ #รู้ธรรม
เพียรมีสติสัมปชัญญะ พิจารณาธรรมในธรรม
เช่น อาการในจิตให้ดูว่า ขณะนี้มันมีอาการ
มีความรู้สึกอย่างไรในจิต มีราคะ มีโทสะ หรือมีโหะ
บางทีมันก็มีความโกรธ ขุ่นมัว เศร้าหมอง เร่าร้อน ฟุ้งซ่าน
บางทีมันก็หงุดหงิด บางทีมันก็ท้อถอย
หรือสงสัย ปฏิบัติไปเกิดความสงสัยจะใช ่หรือไม่ใช่
อย่างนั้นอย่างนี้ ปฏิบัติอย่างนี้จะถูกหรือผิ ด
พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์เป็นอย่างไร
มีจริงหรือ คิดสงสัยเรื่อยไป ก็ให้ระลึกรู้ลักษณะความสงส ัยว่า
คือธรรมชาติอย่างหนึ่ง เรียกว่า “ธรรม”
ธรรมเป็นธรรมชาติ พิจารณาธรรมก็คือพิจารณาธรร มชาติ
ความสงสัยก็เป็นธรรมชาติ ความโกรธก็เป็นธรรมชาติ
ความรักก็เป็นธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มีอยู่จริงๆ
#ธัมโมวาท โดย #พระครูเกษมธรรมทัต
(หลวงพ่อสุรศักดิ์ เขมรังสี)
#ประการที่หนึ่ง #รู้กาย มีอะไรบ้าง
กายที่จะต้องระลึกก็มีลมหาย
อิริยาบถใหญ่ทั้ง ๔ คือ ระลึกรู้กาย
ในขณะนั่ง ขณะยืน ขณะเดิน ขณะนอน
นั่งก็ให้รู้เข้ามาที่ท่าทา
ยืนก็ให้รู้เข้ามาที่ท่าทาง
เดินก็รู้การก้าวไปแต่ละก้า
นอนก็รู้ในท่าทางของกายที่น
นอกจากนี้ก็ให้รู้กายในอิริ
เช่น การคู้ การเหยียด การก้ม การเงย
การแลไปข้างหน้า เหลียวไปข้างซ้าย
ข้างขวา เดินหน้า ถอยหลัง ขยับตัวเคลื่อนไหวร่างกาย
อิริยาบถย่อยให้พยายามระลึก
ในชีวิตประจำวันของเราก็จะม
มีลมหายใจเข้าออก มีอิริยาบถยืน
เดิน นั่ง นอน มีการคู้เหยียด เคลื่อนไหว
ให้พยายามระลึกรู้สึกตัว
อยู่ในขณะที่กายกำลังปรากฏอ
พยายามอยู่บ่อยๆ เนืองๆ
#ประการที่สอง #รู้เวทนา ระลึกรู้เวทนา
เวทนา ก็คือ การเสวยอารมณ์
สุขเวทนา คือ ความสบาย ทุกขเวทนา คือ ไม่สบาย
อุเบกขาเวทนา คือ เฉยๆ ไม่สุขไม่ทุกข์
ก็พยายามระลึกรู้ถึงความรู้
เช่น มันไม่สบายก็ระลึกรู้ถึงควา
แต่อย่าไปยินร้ายด้วย พยายามฝึกจิตรับรู้
แต่ไม่ยินร้าย ไม่เกลียดชัง ไม่ปฏิเสธ
ไม่กระวนกระวายด้วย เวลามันเกิดสุขเวทนาสบายขึ้
ไม่ว่าจะเป็นสบายกายสบายใจ
รับรู้แต่ไม่เข้าไปยินดี รู้แล้ววางเฉย
เวลาเกิดอุเบกขาเฉยๆ ก็ให้รู้ ไม่หลง
แล้วสังเกตพิจารณาความเฉยๆ
#ประการที่สาม #รู้จิต
เพียรพยายามให้มีสติสัมปชัญ
รู้สึกที่จิตใจ เวลาจิตมันคิด
นึกให้รู้ทัน เดี๊ยวมันคิดอีก ก็รู้อีก
รู้ความคิด จิตมันจะแวบไปแวบมา
ซัดส่ายไปในอารมณ์นั้น อารมณ์นี้
คอยติดตามรู้เท่าทันจิตอยู่
#ประการที่สี่ #รู้ธรรม
เพียรมีสติสัมปชัญญะ พิจารณาธรรมในธรรม
เช่น อาการในจิตให้ดูว่า ขณะนี้มันมีอาการ
มีความรู้สึกอย่างไรในจิต มีราคะ มีโทสะ หรือมีโหะ
บางทีมันก็มีความโกรธ ขุ่นมัว เศร้าหมอง เร่าร้อน ฟุ้งซ่าน
บางทีมันก็หงุดหงิด บางทีมันก็ท้อถอย
หรือสงสัย ปฏิบัติไปเกิดความสงสัยจะใช
อย่างนั้นอย่างนี้ ปฏิบัติอย่างนี้จะถูกหรือผิ
พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์เป็นอย่างไร
มีจริงหรือ คิดสงสัยเรื่อยไป ก็ให้ระลึกรู้ลักษณะความสงส
คือธรรมชาติอย่างหนึ่ง เรียกว่า “ธรรม”
ธรรมเป็นธรรมชาติ พิจารณาธรรมก็คือพิจารณาธรร
ความสงสัยก็เป็นธรรมชาติ ความโกรธก็เป็นธรรมชาติ
ความรักก็เป็นธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มีอยู่จริงๆ
#ธัมโมวาท โดย #พระครูเกษมธรรมทัต
(หลวงพ่อสุรศักดิ์ เขมรังสี)
สำหรับการทำสมาธิ หลักโดยทั่วไปก็คือ ทำจิตให้มีสิ่งรู้ ทำสติให้มีสิ่งระลึก จิตรู้อะไรก็ให้มีสติบริกรร มภาวนาก็ให้มีสติ จะพิจารณาก็ให้สติ ทีนี้ในขณะใดจิตต้องการจะสง บนิ่งว่างก็ปล่อยให้ว่าง ขณะใดจิตต้องการคิดปล่อยให้ คิด แต่ให้มีสติตามรู้ไป
สรุปลงแล้ว แผนของการปฏิบัติสมาธิอยู่ต ลอดเวลาโดยไม่เลือกกาลเวลาใ ห้ถือเอาการยืน เดิน นั่ง นอน รับประทาน ดื่ม ทำ พูด คิด เป็นอารมณ์จิต ให้มีสติรู้พร้อมอยู่ทุกขณะ จิตทุกลมหายใจ จะไปเอาเฉพาะเวลานั่งหลับตา มันไม่เพียงพอ เวลามันน้อย
ดังนั้นถ้าหากว่าเราฝึกสติใ ห้มันรู้พร้อมอยู่ที่การยืน เดิน นั่ง นอน รับประทาน ดื่ม ทำ พูด คิด เราจะได้สมาธิได้พลังสติสนั บสนุนจิตอันเป็นเรื่องชีวิต ประจำวันได้ตลอดกาล
หลวงพ่อพุธ ฐานิโย —
สรุปลงแล้ว แผนของการปฏิบัติสมาธิอยู่ต
ดังนั้นถ้าหากว่าเราฝึกสติใ
หลวงพ่อพุธ ฐานิโย —
ผู้ใดรักษาศีล มิขาดตกบกพร่อง ไหว้พระสวดมนต์เจริญสมถะและ
หลวงปู่แหวน สุจิณโณ
สมบัติน้ำเเข็ง...โอวาทของหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ
หลวงปู่ดู่บอกว่า "ที่แกทำ ๆ ไปน่ะ มันสูญเปล่า ชีวิตจะมีค่าก็ตอนไหว้พระ สวดมนต์ ภาวนาเท่านั้น" บางคนคงแย้งท่านในใจว่า มันสูญเปล่าที่ไหนกัน เราทำงาน ทำกิจกรรมต่าง ๆ เราก็ได้ผลงาน ได้เงินได้ทองมาเลี้ยงชีวิตตัวเรา แถมยังเอาไปสงเคราะห์ญาติได้อีก มาถึงตอนนี้ เมื่อเราอายุมากขึ้นประสบการณ์ชีวิต ทำให้เราเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น ๆ ว่า ที่ทำ ๆ ไป ไม่ว่าจะดูซับซ้อน วิจิตรเพียงใด มันก็แค่ "หาอยู่ หากิน" เลี้ยงอัตภาพร่างกายเท่านั้น อย่างมากก็เพิ่มความภาคภูมิใจในผลงาน พอหมดลมแล้วก็หมดกัน เอาติดตัวไปไม่ได้ ไม่เหมือนอย่างกิจกรรมการภาวนาเพื่อพัฒนายกระดับจิตใจ มันกินลึกและเอาติดตัวข้ามภพข้ามชาติไปได้
สมบัติทางโลก ๆ จะมากมาย และวิจิตรประณีตขนาดไหน มันก็เป็นแค่ "สมบัติน้ำแข็ง" อยู่ดี เพราะมันจะค่อย ๆ ละลาย เรากำมันไว้ได้แค่ชั่วครู่ชั่วยามเท่านั้น
หลวงปู่เคยเล่าว่า "เด็กทารกทั่วไปเกิดมาก็กำมือมา บ่งบอกการเกิดมาพร้อมกับความยึดมั่นถือมั่น" พวกเราลองพิจารณาดูเถิด สุดท้ายตอนตายทุกคนก็ต้องแบมือหมด แม้น้ำที่คนเขามารดน้ำศพ ก็ยังกำเอาไว้ไม่อยู่เลย
อาหารที่สุดแสนประณีตก็ได้แค่อิ่ม บ้านที่เป็นดุจคฤหาสน์ก็แค่ที่พักอาศัยหลับนอน ไปคืนหนึ่ง ๆ มนุษย์สร้างสมมติที่ซับซ้อนหลอกตัวเอง เสียจนหลงลืมความจริงพื้นฐานของชีวิต...
"สมบัติน้ำแข็ง" คือ ข้อที่ควรคิดคำนึงเพื่อเตือนจิตเตือนใจตนเองไว้เสมอ ๆ เพื่อให้ตระหนักว่ากิจกรรมชีวิตอันใดที่เราควรทุ่มเท กิจกรรมชีวิตอันใดที่ทำเพียงแค่พอเป็นเครื่องอาศัย
...หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ...วัดสะแก จ.อยุธยา