แฉโมเดลวิบัติ เขาพระวิหารแลกแหล่งน้ำมันใ นเขมร
Sat 2008-07-05 09:33
"เขาพระวิหาร” แหล่งพลังงาน “ปตท.” และกลุ่มทุนอดีตนายกฯ “ทักษิณ” กลายเป็นเรื่องเดียวกันอย่า งแทบไม่น่าเชื่อ แต่ก็ต้องเชื่อ เพราะ “พลังงาน” เป็นสิ่งมีค่า เป็น “ขุมทอง” ที่ทักษิณยอมแลกได้ทุกอย่าง แม้ว่าจะทำให้ไทยต้องสูญเสี ยเขาพระวิหารให้กับเขมร และอาจต้องสูญเสียดินแดนและ อธิปไตย ก็เพื่อแลกกับแหล่งพลังงาน ในอ่าวเขมร แหล่งพลังงานที่เหลืออยู่แห่งเดียวในโลก ปริศนานี้กำลังถูกเฉลยออกมา ว่า ทำไม ทักษิณ ถึงต้องมีเอี่ยวในปตท. !
ว่าด้วยเรื่องเขาพระวิหารแล ้ว “นพดล ปัทมะ” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างป ระเทศ อดีตทนายความและโฆษกประจำตั วของ “ทักษิณ” ไปลงนามเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2551 เพื่อยอมรับคำแถลงการณ์ร่วม ไทย-กัมพูชาสนับสนุนให้กัมพ ูชาจดทะเบียนปราสาทเขาพระวิ หารเป็นมรดกโลก จนอาจทำให้ประเทศไทยเสียดิน แดน กลายเป็นข้อสงสัยว่าทำเพื่อ อะไร?
Sat 2008-07-05 09:33
"เขาพระวิหาร” แหล่งพลังงาน “ปตท.” และกลุ่มทุนอดีตนายกฯ “ทักษิณ” กลายเป็นเรื่องเดียวกันอย่า
ว่าด้วยเรื่องเขาพระวิหารแล
เพราะก่อนลงนามเพียง 1 เดือน พล.อ.เตีย บัน รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกล าโหม กัมพูชา ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนไ ทยว่า “ทักษิณ” จะลงทุนธุรกิจพลังงาน เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติในกัมพูชา โดยเฉพาะการเช่าเกาะกง ซึ่งมีรีสอร์ตดังอย่าง “สีหนุวิลล์” เป็นจุดขาย หลังจากที่ได้หารือกับสมเด็ จฮุนเซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชาเรียบร้ อยแล้ว
“พลเอกเตีย บัน” ยังบอกด้วยว่า เรื่องธุรกิจน้ำมันและก๊าซ เป็นเรื่องที่จะเกิดขึ้นในอ นาคต ซึ่งชาวกัมพูชายังคงต้องซื้อน้ำมันในราคาท ี่แพง และทำให้ค่าครองชีพสูง แต่ทุกคนก็ต้องเผชิญปัญหานี ้ต่อไป ตราบใดที่กัมพูชายังไม่สามา รถขุดน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ มาใช้ได้ในระยะอันใกล้
การเชื่อมโยงโดยข้อสังเกตจา ก “อลงกรณ์ พลบุตร” ส.ส.เพชรบุรี พรรคประชาธิปัตย์ ยังระบุถึงเหตุผลความเหมาะส ม เมื่อครั้งที่ “สมชาย วงศ์สวัสดิ์” รองนายกรัฐมนตรี น้องเขย “ทักษิณ” ไปร่วมเป็นประธานเปิดถนนสาย 48 ไทย-กัมพูชา ระยะทาง 149 กิโลเมตร ซึ่งเป็นถนนที่ ครม.นายกฯ ทักษิณผ่อนปรนปล่อยกู้ให้กั มพูชาเป็นพิเศษ
แม้ปัจจุบันจะไม่มีหลักฐานจ ับได้ว่า มรดกโลก “เขาพระวิหาร” เป็นการเซ็นเพื่อ “ทักษิณ” หรือไม่ก็ตาม แต่ปริศนานี้กำลังถูกเฉลยออ กมาอย่างช้าๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีการตั้งข้อสังเกตว่า เบื้องหลังเหตุการณ์ครั้งนี ้ เพราะ “กัมพูชา” เป็นแหล่งพลังงานที่เหลือเพ ียงไม่กี่แห่งในโลกที่ยังไม ่ได้ถูกขุดเจาะ และพร้อมให้กลุ่มทุนเข้าไปด ำเนินงาน ในพื้นที่แถบชายฝั่งและนอกช ายฝั่ง ซึ่งจากการบรรยายของ TE DUONG TARA ผู้อำนวยการ Cambodian National Petroleum Authority เมื่อ 18 มกราคม 2006 ระหว่างการประชุมว่าด้วยเรื ่องเทคโนโลยีปิโตรเลียม ของอาเซียนครั้งที่ 4 ระบุว่า กัมพูชามีแหล่งก๊าซธรรมชาติ และน้ำมัน และมีการผลิตจำนวนมากนอกชาย ฝั่ง โดยปัจจุบันมีเชฟรอน ได้รับสัมปทานอนุญาตขุดเจาะ และยังมีบริษัทจากไทยคือบริ ษัท ปตท.สผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) (PTTEPI) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ ปตท. ได้ร่วมทุน 30% กับอีก 2 บริษัท คือ บริษัท Resourceful Petroleum Ltd. และ SPC Cambodia Ltd. อีก 10% เป็นของ CE Cambodia B Ltd.
ปตท.สผ. อินเตอร์เนชั่นแนลได้รับสัม ปทานจากรัฐบาลกัมพูชาในการข ุดเจาะน้ำมันและก๊าซนอกชายฝ ั่ง ในบริเวณอ่าวไทย แต่ยังมีพื้นที่แหล่งนี้ที่ กัมพูชาเรียกว่า “บล็อก B” และ ปตท.สผ. ตั้งรหัสว่าโครงการจี 9/ 43 มีการพบเบื้องต้นว่ามีน้ำมันแล ะก๊าซจำนวนมาก แต่ในหนังสือรายงานประจำปี 2550 ได้ระบุว่าเป็นพื้นที่คาบเก ี่ยวระหว่างไทย-กัมพูชา และกำลังแก้ไขปัญหาเรื่องเส ้นแบ่งเขตทางทะเล หรือเป็นหนึ่งในพื้นทับซ้อน ระหว่างไทยและกัมพูชาอีกพื้ นที่หนึ่ง นี่คือพื้นที่ทับซ้อนที่ยัง ต้องรอบทสรุป ที่สำคัญกว่านั้น ทางการกัมพูชายังมีความร่วม มือกับประเทศต่างๆ เพื่อสำรวจและวิจัยแหล่งพลั งงานทั้งทางใต้ดิน และดาวเทียม บริเวณพื้นที่ชายฝั่ง และเบื้องต้นว่า บริเวณทะเลสาบ หรือ“โตนเลสาบ” ใจกลางประเทศ ยังมีแนวโน้มของแหล่งน้ำมัน ดิบ ที่เรียกว่า Permian Carbonates ซึ่งพบทั่วไปในภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ นอกเหนือจากแถบชายฝั่งที่มี แหล่งก๊าซอีกหลายแห่ง โดยเฉพาะแถบ “จังหวัดเกาะกง” ของกัมพูชา จังหวัดทะเลชายฝั่งทางตอนใต ้ ซึ่งพบแหล่งน้ำมัน นั่นหมายความว่า เกาะกง กัมพูชา เป็นแหล่งน้ำมันแหล่งใหญ่ขอ งโลกที่ยังคงเหลืออยู่ และยังไม่ได้ถูกขุดเจาะ ย่อมเป็นที่หมายปองของนานาป ระเทศทั่วโลก รวมทั้งทักษิณและเครือข่าย
“พลเอกเตีย บัน” บิ๊กของกัมพูชา เปิดเผยกับสื่อมวลชนว่า หนึ่งในนายทุนที่ต้องการเข้ าไปลงทุนขุดเจาะน้ำมันในกัม พูชา คือ “พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร” ความหอมหวนของแหล่งพลังงานใ นกัมพูชาจึงเป็น “ขุมทอง” ขนาดใหญ่ที่ “ทักษิณ” ยอมเดิมพันได้ทุกอย่าง ไม่ว่าสิ่งนั้นจะเป็น “เขาพระวิหาร” มรดกโลกอันมีค่า ทั้งๆ ที่ทักษิณเองก็รู้ดีว่าจะทำ ให้ประเทศไทยต้องสูญเสียดิน แดน และอาจลุกลามกลายเป็นปัญหาร ะหว่างประเทศ ผลจากการกระทำของนพดล รัฐมนตรีในสังกัด ก็ได้ถูกชี้ชัดโดยศาลรัฐธรร มนูญ ได้วินิจฉัยคดีแถลงการณ์ร่ว มไทย-กัมพูชา ขัดรัฐธรรมนูญ มาตรา 180 เพราะเป็นการลงนามโดยผู้มีอ ำนาจของ 2 ประเทศ มีพันธสัญญาร่วมกัน โดยต้องผ่านสภาเพราะเป็นเรื ่องละเอียดอ่อน อาจเกิดความแตกแยกระหว่างปร ะเทศ และสุ่มเสี่ยงต่อผลกระทบเรื ่องอาณาเขตของประเทศไทย
รศ.ศรีศักร์ วัลลิโภดม นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด ้านประวัติศาสตร์ไทย ตั้งข้อสังเกตว่า การตัดสินของคณะกรรมการมรดก โลกขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิห ารเป็นมรดกโลกของกัมพูชา เป็นการตัดสินที่ขัดต่อ 3 องค์กรประกอบอุดมคติของมรดก โลก เป็นการตัดสินที่ไม่ชอบธรรม และไม่ได้เป็นเครื่องมือสร้ างสันติภาพตามเจตนารมณ์ที่แ ท้จริง แต่กลับทำให้เป็นพื้นที่ท่อ งเที่ยวทางเศรษฐกิจ ซ่อนเร้นให้กลุ่มข้ามชาติเข ้ามาแสวงหาผลประโยชน์
ผลเสียที่ตามมาก็คือ หลังจากขึ้นทะเบียนตัวประสา ทเขาวิหารเป็นมรดกโลกแล้ว ถัดจากนั้น จะให้ประเทศต่างๆ มาบริหารจัดการร่วมกัน หากไทยยอมเข้าร่วม เท่ากับว่าเป็นการยกดินแดนไ ทย และดินแดนทับซ้อน 4.6 ตารางกิโลเมตรให้คณะกรรมการ มรดกโลกบริหารจัดการ โดยขั้นตอนต่อไป คณะกรรมการมรดกโลกก็ยกพื้นท ี่ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของกัมพ ูชา
ได้มีการตั้งข้อสังเกต การตัดสินของคณะกรรมการมรดก โลกของยูเนสโก ถึงข้อเสนอของกัมพูชานั้น ผ่านหลักเกณฑ์แค่ 1 ใน 3 เท่านั้น คือ สถาปัตยกรรมที่มาจากการสร้า งสรรค์ของมนุษย์ แต่หลักเกณฑ์ทางด้านภูมิทัศ น์ทางวัฒนธรรมไม่ผ่าน เพราะขาดความสมบูรณ์ เพราะโบราณสถานที่อยู่ในเขต พื้นที่ทับซ้อนไม่ได้นำมารว ม การตัดสินครั้งนี้จึงขาดควา มน่าเชื่อถือ
ยังมีการตั้งข้อสังเกตอีกว่ า การที่คณะกรรมการโลกได้ สนับสนุนกัมพูชาของเหล่าคณะ กรรมการโลกครั้งนี้ เป็นเพราะ ทุกประเทศที่อยู่ร่วมในคณะก รรมการมรดกโลก เล็งเห็นขุมทรัพย์บ่อน้ำมัน ของเขมร ไม่ว่าจะเป็นฝรั่งเศส ที่มีกลุ่มโททัลออยล์ (TOTAL Oil) และจีน ที่มีบริษัท CNOOC บริษัทน้ำมันเข้าไปสำรวจหาก ๊าซและน้ำมันดิบในกัมพูชา
การยอมรับเขาพระวิหารเป็นมร ดกโลกของกัมพูชา ยังสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสีย ดินแดน และอธิปไตย เป็น“โดมิโน” ที่ส่งผลกระทบถึง ปัญหา “พื้นที่ทับซ้อน” ระหว่างเขตแดนไทยและกัมพูชา ในหลายจังหวัด เช่น อุบลราชธานี สุรินทร์ บุรีรัมย์ จันทบุรี ตราด เนื่องจากไทยและกัมพูชาใช้แ ผนที่คนละใบ ไทยนั้นยึด “สันปันน้ำ” ในการวัด โดยใช้มาตราส่วน 1:50,000 ในขณะที่กัมพูชา ใช้มาตราส่วน 1:200,000
หากมีการนำ มาตราวัดของกัมพูชา ซึ่งเป็นไปได้มากมาจัดการกั บ ปัญหาพื้นที่ทับซ้อน เหล่านี้ย่อมทำให้ไทยต้องเส ียเขตแดน เช่น พื้นที่เกาะกูด จังหวัดตราด ก็เป็นพื้นที่ทับซ้อน หากถ้าใช้มาตราวัดของกัมพูช า เกาะกูดจะกลายเป็นของกัมพูช าไปโดยปริยาย ต่อให้คนไทยคนไหนที่กินดีหม ี สวมหัวใจสิงห์ ก็ยังไม่กล้าถึงเพียงนี้ หากไม่ใช่เพราะผลประโยชน์ เพื่อต้องการเป็นเจ้าของธุร กิจพลังงาน ทักษิณจึงยอมได้ทุกอย่าง
นักธุรกิจระดับชาติอย่างทัก ษิณ ย่อมรู้ดีว่าธุรกิจพลังงานเ ป็นธุรกิจแห่งอนาคตที่ทำราย ได้ให้มหาศาล หาใช่ธุรกิจโทรศัพท์มือถือ ซึ่งอยู่ในช่วงขาลง ไม่ได้รุ่งเรืองเหมือนในอดี ต หรือแม้แต่การซื้อธุรกิจสโม สรทีมฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี ้ ก็เพื่อสร้างโปรไฟล์ให้ดูดี ไม่ใช่ธุรกิจที่ทำรายได้งดง ามเหมือนกับธุรกิจพลังงาน
ทักษิณได้เตรียมการในเรื่อง นี้มานานแล้ว ด้วยการร่วมมือกับ “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เจ้าของห้างแฮร์รอดส์อันโด่ งดังในอังกฤษ อัล ฟาเยด ไม่ได้เป็นแค่เจ้าของห้างหร ู แต่ยังมีธุรกิจพลังงาน ที่เข้ามาทำร่วมกับ ปตท.สผ. (อ่านล้อมกรอบ)
และนี่คือสาเหตุว่า ทำไมทักษิณจึงต้องพา “อัล ฟาเยด” เดินทางไปดูงานถึงเขมร ซึ่งไม่ใช่การร่วมลงทุนในธุ รกิจกาสิโนอย่างที่เป็นข่าว เพราะระบบสาธารณูปโภคในเกาะ กงก็ยังไม่พร้อม เกาะกงจึง เป็นเพียงแค่ข่าวบังหน้า เพราะเบื้องหลังก็คือความร่ วมมือในการรุกเข้าทำธุรกิจพ ลังงานในกัมพูชา (อ่านล้อมกรอบ) และนี่คือ เหตุผลว่า ทำไมทักษิณจึงต้องเป็นเจ้าข อง ปตท. ซึ่งมีความพร้อมในเรื่องทั้ งขุดเจาะ จัดจำหน่าย ดังนั้น ปตท. จะเป็นกลไกสำคัญที่จะช่วยให ้ธุรกิจพลังงานในเขมร เป็นจริง โดยมีเครือข่ายธุรกิจพลังงา นของ อัล ฟาเยด ร่วมเป็นกองหนุน
ถ้าเลือกได้ เป้าหมายทำสัญญาให้เช่าเกาะ กงของทักษิณกับเขมร ที่มีรัฐบาลฮุนเซนเป็นคู่สั ญญา หาใช่ทำในนามรัฐต่อรัฐ แต่เป็นการทำในนาม “นิติบุคคล” โดยที่เกาะกงจะได้รับเป็นเข ตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งได้รับการยกเว้นภาษี ซึ่งรายได้ไม่ต้องเข้ารัฐบา ลกัมพูชา และเป็นเขตปกครองพิเศษ นอกเหนืออธิปไตย
แน่นอนว่าสิ่งที่ทักษิณต้อง การมากที่สุดคือ การสร้างระบอบ “การเมือง” ใหม่ เป็นประชาธิปไตยแบบตัวแทน ที่เรียกว่า ระบอบทักษิณ โดยอ้างถึงระบอบประชาธิปไตย แบบตัวแทน ที่ใครมีเงินก็เล่นการเมือง ได้ (อ่านเรื่อง Kingdom or Republic of Thailand ใน POSITIONING ฉบับ เดือนมิถุนายน 2551 ประกอบ) อะไรจะเกิดขึ้น หากทักษิณสามารถนำบริษัทเข้ าไปลงทุนในเขมร ?
โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด - เพื่อนซี้ “ทักษิณ” ร่วมก๊วน “เทมาเส็ก” แนบแน่น “ปตท.”
เมื่อย้อนกลับไปดูประวัติศา สตร์ขุดเจาะน้ำมันของไทย จะพบว่ามหาเศรษฐีห้างสรรพสิ นค้าแฮร์รอดส์ (Harrods) โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด (Mohamed Al Fayed) เพื่อนเลิฟของอดีตนายก “ทักษิณ” เข้ามาได้ประโยชน์จากธุรกิจ น้ำมันในไทยมานาน ผ่าน ปตท.สผ. บริษัทลูก ปตท. ก่อนที่ปตท. จะเข้าตลาดหุ้นเมื่อปี 2544 โดย Asian Economic News และนิตยสาร Offshore ลงข่าวพร้อมเพรียงกันในช่วง ธันวาคม 2542 ว่าหลังจากโมฮัมหมัด อัล ฟาเยดจัดตั้งบริษัท แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ (Harrods Energy) ก็ได้สิทธิสำรวจน้ำมันใน 4 แปลงขุดเจาะในอ่าวไทย คือ B2/38, B11/32, B11/38 และ B12/ 32. ห่างจากชายฝั่งระยอง 150 กิโลเมตร โดยมีศักยภาพในการขุดเจาะน้ำมันว ันละ 8,000 บาร์เรล ซึ่งในการสำรวจขุดเจาะครั้ง นั้น Harrods Energy ถือหุ้น 50% ในการลงทุนสำรวจขณะที่ ปตท.สผ. ถือหุ้น 50%ที่เหลือ
จากการสืบค้นข้อมูลของกรมพั ฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ พบว่า บริษัท แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ จดทะเบียนในเมืองไทยเมื่อ 22 พฤษภาคม 2541 ใช้ชื่อเป็นทางการว่า แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ (ประเทศไทย) ต่อมาเปลี่ยนชื่อจนไม่เหลือ คราบเดิม เป็นเพิร์ล ออย (Pearl Oil) (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในรา ยชื่อผู้ถือหุ้น) เมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2547 เพราะถูกขายให้กับบริษัท Pearl Energy Pte. Ltd. ที่มีฐานอยู่ในสิงคโปร์ สิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่งคือ เมื่อสืบสาวต้นทางจะพบกลุ่ม ทุนเทมาเส็ก (Temasek) แห่งสิงคโปร์ถือหุ้นบริษัทด ังกล่าวผ่านทาง Mubadala Development (ข้อมูลจาก Business Week และ RGE Monitor) ซึ่ง “เทมาเส็ก” มีความสัมพันธ์แนบแน่นกับ “ทักษิณ” และคือบริษัทที่ซื้อหุ้นในช ินคอร์ป จากครอบครัว ”ทักษิณ” ด้วยมูลค่ากว่า 73,000 ล้านบาท
Pearl Oil ยังคงได้สัมปทานขุดเจาะน้ำม ันอย่างต่อเนื่อง เช่น แปลง B 5/27 ที่แหล่งจัสมิน และ B12/ 32 ณ แหล่งบุษบงในอ่าวไทย เป็นต้น ส่งต่อน้ำมันดิบให้กับ ปตท.สผ. ภายใต้สัญญาซื้อ-ขาย 20 ปี เช่นเดียวกับเมื่อ 8 ธันวาคม 2549 Pearl Oil ก็ได้สิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลีย มเพิ่มในแปลง G10/ 48 บริเวณตอนใต้ของอ่าวไทย เมื่อสมัยนายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงา น
จากข้อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจ การค้า กระทรวงพาณิชย์พบว่ากรรมการ ของเพิร์ลออย ยังเป็นกรรมการในบริษัทที่เ กี่ยวข้องรวม 8 บริษัท แต่ละบริษัทต่างระบุว่าทำธุ รกิจรับสัมปทานขุดเจาะน้ำมั น และมีทุนจดทะเบียนบริษัทละ 100 ล้านบาท บางบริษัทมีรายได้ แต่บางบริษัทยังไม่ได้บันทึ กรายได้ โดยบริษัทที่มีรายได้สูงสุด คือเพิร์ลออย ประเทศไทย มีรายได้ปี 2549 รวม 7,071 ล้านบาท กำไร 1,654 ล้านบาท กำไรต่อหุ้น 16.54 บาท
บริษัท แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ ประเทศไทย จำกัด เปลี่ยนชื่อเป็น เพิร์ลออย (ประเทศไทย) เมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2547 ทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อาคาร ไทยพาณิชย์ ปาร์ค พลาซ่า เวสท์ ชั้น 10
ณ วันที่ 30 เมษายน 2550 ปรากฏชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 99.99% คือบริษัทเพิร์ลออยล์ (สยาม) คิดเป็น มูลค่า99,994 ล้านบาท หรือเฉลี่ยราคาหุ้นละ 1,000 บาท ส่วนผู้หุ้นอื่นเป็นบุคคลสั ญชาติแคนาดา อินโดนีเซีย 3 คน อังกฤษ 1 คน และอเมริกา 1 คน เพียงคนละ 1 หุ้น เท่านั้น
ข้อมูลกระทรวงพาณิชย์ระบุว่ า”เพิร์ลออยล์ (สยาม) จดทะเบียนที่หมู่เกาะเวอร์จ ิน อังกฤษ ส่วนผู้หุ้นอื่นเป็นบุคคลสั ญชาติแคนาดา อินโดนีเซีย 3 คน อังกฤษ 1 คน และอเมริกา 1 คน เพียงคนละ 1 หุ้น เท่านั้น
เครือข่าย”เพิร์ลออย (ประเทศไทย)”
-เพิร์ลออย บางกอก
-เพิร์ลออย ออฟชอร์
-เพิร์ลออย (ปิโตรเลียม)
-เพิร์ลออย (รีซอสเซส)
-เพิร์ลออย (อมตะ)
-เพิร์ลออย ออนชอร์
-เพิร์ลออย (อ่าวไทย)
Timeline เขาพระวิหาร-แหล่งพลังงาน
“ปราสาทพระวิหาร” “แหล่งน้ำมัน- ก๊าซเขมร” “ทักษิณ” “ปตท.” “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” กลายเป็นเรื่องเดียวกันอย่า งแทบไม่น่าเชื่อ ...จนนำมาสู่ “คนไทยจะขายชาติกันเอง” ด้วยการวางแผนอย่างแนบเนียน ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา
22 พฤษภาคม 2541
– “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เจ้าของห้างสรรพสินค้าแฮร์ร อดส์ จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทในไท ยภายใต้ชื่อ “แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ (ประเทศไทย)” และรับสัมปทานขุดเจาะน้ำมัน และก๊าซ ร่วมกับปตท.สผ.
ธันวาคม 2542
- แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ เริ่มได้สัมปทานขุดเจาะน้ำม ันในอ่าวไทย
กุมภาพันธ์ 2544
– “ทักษิณ ชินวัตร” ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้ง และได้นั่งเก้าอี้นายกรัฐมน ตรีสมัยแรก
ตุลาคม 2546
- ขณะที่ “ทักษิณ” เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศพร้อมจะซื้อหุ้นสโ มสรฟุตบอล “ฟูแล่ม” ซึ่งมี “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เป็นเจ้าของ ขณะที่สถานการณ์การเงินของ “ฟูแล่ม” ขาดทุน และมีหนี้จำนวนมาก
ปี 2547
- รัฐบาลทักษิณอนุมัติให้เงิน กู้กัมพูชาอัตราดอกเบี้ยต่ำ จำนวน 827.4 ล้านบาท เพื่อสร้างถนนผิวทางแอสฟัลต ์และสร้างสะพานคอนกรีตเสริม เหล็กแบบให้เปล่าบนถนนสายนี ้อีก 4 แห่ง โดยกรมทางหลวงออกแบบให้ ใช้งบประมาณ 288.2 ล้านบาท
ตุลาคม 2549
- หลัง “ทักษิณ” ถูกรัฐประหาร “ทักษิณ” ได้ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ที่อังก ฤษ และมีข่าวว่าได้แวะพักที่บ้ านของนายโมฮัมหมัด อัลฟาเยด เลขที่ 55 Park Lane ทางตะวันตกของกรุงลอนดอน
ปี 2550
-“ทักษิณ” ซื้อสโมสรแมนเชสเตอร์ซิตี้ ท่ามกลางข่าวลือว่า “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เป็นผู้ประสานงานให้
14 พฤษภาคม 2551
– มีรายงานข่าวจากสื่อไทย ว่า พล.อ.เตีย บัน รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกล าโหม กัมพูชา ให้สัมภาษณ์ว่า “ทักษิณ” จะลงทุนธุรกิจพลังงาน เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติในกัมพูชา โดยเฉพาะการเช่า เกาะกง ซึ่งมีรีสอร์ตดังอย่าง “สีหนุวิลล์” เป็นจุดขาย หลังจากที่ได้หารือกับสมเด็ จฮุนเซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชาเรียบร้ อยแล้ว
เว็บไซต์ของ “บางกอกโพสต์” ระบุด้วยว่า เกาะกงซึ่งอยู่ตรงข้ามกับจั งหวัดตราดของไทย เป็นเป้าหมายแรกของ “ทักษิณ” ที่จะเข้าไปลงทุนในกัมพูชา ซึ่งจะรวมถึงการทำบ่อนกาสิโ น และเอนเตอร์เทนเมนต์ คอมเพล็กซ์ โดยจะเป็นการร่วมทุนกับนักธ ุรกิจจากตะวันออกกลาง รวมถึงนาย โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด มหาเศรษฐีชาวอียิปต์เจ้าของ ห้างแฮร์รอดส์ในลอนดอน
- “นพดล ปัทมะ” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่ างประเทศ และ “สมชาย วงศ์สวัสดิ์” รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึ กษาธิการ เป็นประธานร่วมกันเปิดถนนหม ายเลข 48 ที่จังหวัดเกาะกง-สะแรอัมเบ ิล เป็นเส้นทางที่ทำให้การเดิน ทางจากบ้านหาดเล็ก อ.คลองใหญ่ จ.ตราด ของไทย ถึงพนมเปญโดยใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมง
18 มิถุนายน 2551
– “นพดล ปัทมะ” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างป ระเทศ อดีตทนายความและโฆษกประจำตั วของ “ทักษิณ” ลงนามยอมรับคำแถลงการณ์ร่วม ไทย-กัมพูชา สนับสนุนให้กัมพูชาเสนอจดทะ เบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรด กโลก
8 กรกฎาคม 2551
- เวลาตี 3 ของเช้าวันอังคารที่ 15 กรกฎาคม 2551 ตามเวลาในประเทศไทย เป็นเวลาที่ชาวกัมพูชาดีใจ และเฉลิมฉลองกันทั่วเมือง เมื่อยูเนสโกมีมติรับข้อเสน อของรัฐบาลกัมพูชาที่เสนอขึ ้นทะเบียน “ปราสาทพระวิหาร” เป็นมรดกโลก นาทีเดียวกันนั้นคนไทยต้องร ู้สึกหดหู่กับการ “ขายชาติ” ของคนไทยด้วยกันเอง เพียงเพื่อผลประโยชน์ส่วนตั ว แลกกับประเทศไทยเสียดินแดนป ระมาณ 4.6 ตารางกิโลเมตร
แหล่งน้ำมันดิบในกัมพูชา
จำนวนบ่อน้ำมัน ขุดเจาะสำรวจแล้ว 9 หลุม/บ่อ พบน้ำมันดิบ 5 หลุม/บ่อ ยังไม่ได้สำรวจอีก 10 หลุม/บ่อ
ปริมาณน้ำมันดิบสำรอง 2,000 ล้านบาร์เรล
ปริมาณก๊าซธรรมชาติสำรอง 10 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต
มูลค่าการผลิต (ประมาณการ) 6,000 ล้านดอลลาร์ต่อปี
การสนับสนุนของรัฐ จัดตั้งองค์กรปิโตรเลียมแห่ งชาติ (Cambodia National Petroleum Authority) ขึ้นมากำกับดูแล
ที่มา – สื่ออุตสาหกรรมออนไลน์เพื่อ นักอุตสาหกรรม
ปตท. เสริมภาพลักษณ์
เดือนที่ผ่านมา นับแต่กรณีศาลปกครองมีคำสั่ งชะลอการขายหุ้นเพิ่มทุน บริษัท กฟผ. จำกัด (มหาชน) รัฐวิสาหกิจด้านพลังงานไฟฟ้ าสำคัญ ให้กับนักลงทุนทั่วไป ก็มีโฆษณาชนิดปูพรม 2 ชิ้นของ บริษัท ปตท. จำกัด(มหาชน) ออกมาทางโทรทัศน์ชนิดต่อเนื ่องไม่ยั้งจะบอกว่า เป็นเรื่องบังเอิญก็คงไม่ได ้ แต่จะบอกว่าเป็นเจตนา มันก็กล่าวหากันมากเกินไป
ปตท. น้ำมันหล่อลื่น แรงยิ่งกว่าแรง
น้ำมันหล่อลื่น เป็นอุตสาหกรรมที่แข่งขันกั นสูง เพราะแต่ละแบรนด์ต่างต้องกา รแย่งชิงเค้กก้อนโตมูลค่า 30,000-35,000 ล้านบาท (ใกล้เคียงกับตลาดน้ำอัดลม) ปตท.น้ำมันหล่อลื่น ก็สู้ศึกมาอย่างแข็งขัน จากแบรนด์ที่มีส่วนแบ่งการต ลาดอันดับ 5 เมื่อ 8-9 ปีที่ผ่านมา ปัจจุบันผลจากการสร้างแบรนด ์และสื่อสารกับผู้บริโภคอย่ างต่อเนื่องผ่านแคมเปญต่างๆ ตลอดจนการไม่หยุดยั้งที่จะพ ัฒนานวัตกรรมที่ตอบสนองความ ต้องการการใช้งานทุกรูปแบบ ทำให้ปัจจุบัน ปตท.น้ำมันหล่อลื่น ครองส่วนแบ่งการตลาด 36.81% เป็นอันดับ 1 ได้สำเร็จ ปล่อยให้แบรนด์อื่นๆ อย่างเชลล์ บีพี-คาสตรอล เชฟรอน ฯลฯ เป็นผู้ตาม
ศึกชิงปั๊ม ปตท. สงครามคอนวีเนียนสโตร์เที่ย วล่าสุด
ด้วยเครือข่ายกว่า 1,300 แห่งทั่วไทย ส่งผลให้ปั๊ม ปตท. ได้กลายเป็นสมรภูมิแห่งใหม่ ของธุรกิจค้าปลีก ที่ต้องการแผ่อาณาจักรธุรกิ จเข้าถึงผู้บริโภคที่มา ใช้บริการ “ซื้อ-ดื่ม-กิน-ช้อป” ในปั๊มน้ำมัน แถมยังไร้ข้อจำกัดเรื่องเวล า ให้บริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง เซ็นทรัลหวนคืนสู่ซัพพลายเอ อร์รายใหญ่ป้อนสินค้าให้ร้า น “จิฟฟี่” ของ ปตท. โดยมี “เซเว่นอีเลฟเว่น” เตรียมขยายร้านในปั๊ม ปตท. จาก 700 สาขาเพิ่มเป็น 1,300 สาขา
CSR หน้ากาก “พลังงานเพื่อชาติ”
ไม่ใช่แค่ “คืนกำไรให้สังคม” และทำตามความคาดหวังของตลาด หลักทรัพย์ฯ ทว่าโครงการ “รับผิดชอบต่อสังคม” (Corporate Social Responsibility) หรือ “ซีเอสอาร์” ของบริษัทใหญ่ๆ มักถูกใช้เป็น “กลยุทธ์” สร้างภาพลักษณ์ขององค์กรและ ลดแรงเสียดทานจากชุมชนในพื้ นที่ที่บริษัทตั้งฐานการผลิ ต จนมีผู้เปรียบเทียบว่า “ซีเอสอาร์” ไม่ต่างจาก ”เครื่องมือฟอกองค์กร” ให้ดูขาวสะอาด
ปตท. ปั้นภาพ ทวงบุญคุณคนไทยผ่านโฆษณา
หากมองเผินๆ ภาพยนตร์โฆษณาของ ปตท. ที่ออกอากาศอย่างต่อเนื่องท ุกปี นี่คือภาพยนตร์โฆษณา CSR และ Coporate Image รูปแบบหนึ่ง แต่ก็ดูเป็นการปั้นภาพที่ยั งไงก็สร้างความคลางแคลงใจให ้กับหลายฝ่าย แม้แผนก CSR กับ Marketing ของ ปตท. จะแยกส่วนกันทำงานก็ตาม โดยแยกเอเยนซี่กันทำงานระหว ่าง Coporate Image และ Marketing
บิ๊ก ปตท. รวยหุ้น เงินเดือน โบนัส
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ได้ชื่อว่าเป็นบริษัทที่อยู ่ในความนิยมอันดับต้นๆ เป็นที่ที่หลายคนใฝ่ฝันอยาก ทำงาน ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่แก่กล้าด ้วยวัยวุฒิและคุณวุฒิ เพื่อมาในตำแหน่งผู้บริหารร ะดับสูง และคณะกรรมการ (บอร์ด ) และผู้ที่ยังเพิ่งเริ่มวัยท ำงาน เพราะผลตอบแทนสูง
6 อรหันต์น้ำมันยุค “ทักษิณ”
โครงสร้างการบริหารนโยบายด้ านพลังงาน ที่มีอำนาจทับซ้อนกับผลประโ ยชน์ โดยมีบุคคลในแวดวงกิจการน้ำ มันเป็นตัวเดินเรื่อง ชัดเจนมาตั้งแต่เริ่มสมัยรั ฐบาลพ.ต.ท.ทักษิณ ในปี 2544 จนมาถึงช่วงที่สถานการณ์ราค าน้ำมันเริ่มพุ่งทะยานตั้งแ ต่ปี 2547 ในแวดวงน้ำมันถึงกับมีการเร ียกบุคคลเหล่านี้ว่า “6 อรหันต์ทองคำด้านพลังงาน” เพราะไม่เพียงบทบาทสูงเกี่ย วกับการกำหนดราคาพลังงานแล้ ว คนเหล่านี้ยังได้ผลตอบแทนเร ื่องหุ้น เบี้ยประชุม และโบนัส จำนวนมาก
http:// www.positioningmag.com/ content/ แฉโมเดลวิบัติ-เขาพระวิหารแล กแหล่งน้ำมันในเขมร
“พลเอกเตีย บัน” ยังบอกด้วยว่า เรื่องธุรกิจน้ำมันและก๊าซ เป็นเรื่องที่จะเกิดขึ้นในอ
การเชื่อมโยงโดยข้อสังเกตจา
แม้ปัจจุบันจะไม่มีหลักฐานจ
ปตท.สผ. อินเตอร์เนชั่นแนลได้รับสัม
“พลเอกเตีย บัน” บิ๊กของกัมพูชา เปิดเผยกับสื่อมวลชนว่า หนึ่งในนายทุนที่ต้องการเข้
รศ.ศรีศักร์ วัลลิโภดม นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด
ผลเสียที่ตามมาก็คือ หลังจากขึ้นทะเบียนตัวประสา
ได้มีการตั้งข้อสังเกต การตัดสินของคณะกรรมการมรดก
ยังมีการตั้งข้อสังเกตอีกว่
การยอมรับเขาพระวิหารเป็นมร
หากมีการนำ มาตราวัดของกัมพูชา ซึ่งเป็นไปได้มากมาจัดการกั
นักธุรกิจระดับชาติอย่างทัก
ทักษิณได้เตรียมการในเรื่อง
และนี่คือสาเหตุว่า ทำไมทักษิณจึงต้องพา “อัล ฟาเยด” เดินทางไปดูงานถึงเขมร ซึ่งไม่ใช่การร่วมลงทุนในธุ
ถ้าเลือกได้ เป้าหมายทำสัญญาให้เช่าเกาะ
แน่นอนว่าสิ่งที่ทักษิณต้อง
โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด - เพื่อนซี้ “ทักษิณ” ร่วมก๊วน “เทมาเส็ก” แนบแน่น “ปตท.”
เมื่อย้อนกลับไปดูประวัติศา
จากการสืบค้นข้อมูลของกรมพั
Pearl Oil ยังคงได้สัมปทานขุดเจาะน้ำม
จากข้อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจ
บริษัท แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ ประเทศไทย จำกัด เปลี่ยนชื่อเป็น เพิร์ลออย (ประเทศไทย) เมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2547 ทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อาคาร
ณ วันที่ 30 เมษายน 2550 ปรากฏชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 99.99% คือบริษัทเพิร์ลออยล์ (สยาม) คิดเป็น มูลค่า99,994 ล้านบาท หรือเฉลี่ยราคาหุ้นละ 1,000 บาท ส่วนผู้หุ้นอื่นเป็นบุคคลสั
ข้อมูลกระทรวงพาณิชย์ระบุว่
เครือข่าย”เพิร์ลออย (ประเทศไทย)”
-เพิร์ลออย บางกอก
-เพิร์ลออย ออฟชอร์
-เพิร์ลออย (ปิโตรเลียม)
-เพิร์ลออย (รีซอสเซส)
-เพิร์ลออย (อมตะ)
-เพิร์ลออย ออนชอร์
-เพิร์ลออย (อ่าวไทย)
Timeline เขาพระวิหาร-แหล่งพลังงาน
“ปราสาทพระวิหาร” “แหล่งน้ำมัน- ก๊าซเขมร” “ทักษิณ” “ปตท.” “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” กลายเป็นเรื่องเดียวกันอย่า
22 พฤษภาคม 2541
– “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เจ้าของห้างสรรพสินค้าแฮร์ร
ธันวาคม 2542
- แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ เริ่มได้สัมปทานขุดเจาะน้ำม
กุมภาพันธ์ 2544
– “ทักษิณ ชินวัตร” ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้ง
ตุลาคม 2546
- ขณะที่ “ทักษิณ” เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศพร้อมจะซื้อหุ้นสโ
ปี 2547
- รัฐบาลทักษิณอนุมัติให้เงิน
ตุลาคม 2549
- หลัง “ทักษิณ” ถูกรัฐประหาร “ทักษิณ” ได้ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ที่อังก
ปี 2550
-“ทักษิณ” ซื้อสโมสรแมนเชสเตอร์ซิตี้ ท่ามกลางข่าวลือว่า “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เป็นผู้ประสานงานให้
14 พฤษภาคม 2551
– มีรายงานข่าวจากสื่อไทย ว่า พล.อ.เตีย บัน รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกล
เว็บไซต์ของ “บางกอกโพสต์” ระบุด้วยว่า เกาะกงซึ่งอยู่ตรงข้ามกับจั
- “นพดล ปัทมะ” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่
18 มิถุนายน 2551
– “นพดล ปัทมะ” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างป
8 กรกฎาคม 2551
- เวลาตี 3 ของเช้าวันอังคารที่ 15 กรกฎาคม 2551 ตามเวลาในประเทศไทย เป็นเวลาที่ชาวกัมพูชาดีใจ และเฉลิมฉลองกันทั่วเมือง เมื่อยูเนสโกมีมติรับข้อเสน
แหล่งน้ำมันดิบในกัมพูชา
จำนวนบ่อน้ำมัน ขุดเจาะสำรวจแล้ว 9 หลุม/บ่อ พบน้ำมันดิบ 5 หลุม/บ่อ ยังไม่ได้สำรวจอีก 10 หลุม/บ่อ
ปริมาณน้ำมันดิบสำรอง 2,000 ล้านบาร์เรล
ปริมาณก๊าซธรรมชาติสำรอง 10 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต
มูลค่าการผลิต (ประมาณการ) 6,000 ล้านดอลลาร์ต่อปี
การสนับสนุนของรัฐ จัดตั้งองค์กรปิโตรเลียมแห่
ที่มา – สื่ออุตสาหกรรมออนไลน์เพื่อ
ปตท. เสริมภาพลักษณ์
เดือนที่ผ่านมา นับแต่กรณีศาลปกครองมีคำสั่
ปตท. น้ำมันหล่อลื่น แรงยิ่งกว่าแรง
น้ำมันหล่อลื่น เป็นอุตสาหกรรมที่แข่งขันกั
ศึกชิงปั๊ม ปตท. สงครามคอนวีเนียนสโตร์เที่ย
ด้วยเครือข่ายกว่า 1,300 แห่งทั่วไทย ส่งผลให้ปั๊ม ปตท. ได้กลายเป็นสมรภูมิแห่งใหม่
CSR หน้ากาก “พลังงานเพื่อชาติ”
ไม่ใช่แค่ “คืนกำไรให้สังคม” และทำตามความคาดหวังของตลาด
ปตท. ปั้นภาพ ทวงบุญคุณคนไทยผ่านโฆษณา
หากมองเผินๆ ภาพยนตร์โฆษณาของ ปตท. ที่ออกอากาศอย่างต่อเนื่องท
บิ๊ก ปตท. รวยหุ้น เงินเดือน โบนัส
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ได้ชื่อว่าเป็นบริษัทที่อยู
6 อรหันต์น้ำมันยุค “ทักษิณ”
โครงสร้างการบริหารนโยบายด้
http://
By หมี CNN
พันโท.รัฐเขต แจ้งจำรัส ลูกทีม พลเอกประยุทธ์ นำทีมทหารเข้าตรวจสอบหลุมขุดเจาะ น้ำมันดิบ ที่บริษัทต่างชาติ ร่วมมือกับ ปตท แอบลักลอบขุดน้ำมัน ของคนไทย
...จากทั้งหมด เกือบ 6000 หลุมขุดเจาะ ทั่วประเทศ
ไหนปตท.บอกว่าน้ำมันประเทศไทยเหลือน้อย เฉพาะที่อ.ศรีเทพและอ.วิเชียรบุรีมีบ่อน้ำมันตั้...ง 95 หลุม
...อีกอย่าง โรงกลั่นน้ำมันที่ไทยมีตั้ง 7 โรง แต่ละโรงต่อท่อตรงจากอ่าวไทยเลยนะครับ สึเขียว ๆในภาพคือแหล่งน้ำมันดิบทั่วประเทศไทย ทั้งบนบกและในทะเล มากมายมหาศาล เทียบเท่าซาอุดิอาราเบีย
Cr. ฟ้าสีทอง ผ่องอำไพ
...จากทั้งหมด เกือบ 6000 หลุมขุดเจาะ ทั่วประเทศ
ไหนปตท.บอกว่าน้ำมันประเทศไทยเหลือน้อย เฉพาะที่อ.ศรีเทพและอ.วิเชียรบุรีมีบ่อน้ำมันตั้...ง 95 หลุม
...อีกอย่าง โรงกลั่นน้ำมันที่ไทยมีตั้ง 7 โรง แต่ละโรงต่อท่อตรงจากอ่าวไทยเลยนะครับ สึเขียว ๆในภาพคือแหล่งน้ำมันดิบทั่วประเทศไทย ทั้งบนบกและในทะเล มากมายมหาศาล เทียบเท่าซาอุดิอาราเบีย
Cr. ฟ้าสีทอง ผ่องอำไพ