ครูบาอาจารย์แต่ก่อนสอน พุทโธๆ บางคนก็ไม่รู้จักพุทโธ พุทโธเป็นนกแก้วนกขุนทอง ไม่ได้เรื่อง พุทโธจริงๆแปลว่าผู้รู้ พุทโธจริงๆแปลว่าผู้ตื่น พุทโธแปลว่าผู้เบิกบาน
อะไรคือ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ก็จิตนั่นแหละคือ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เนี่ยพุทโธแล้วต้องรู้ทันจิ
เพราะฉะนั้นจุดแรกนะ เราจะต้องตื่นขึ้นมาให้ได้ ต้องรู้ตัวขึ้นมาให้ได้ ฝึกไปเรื่อยจนจิตของเราเป็น
นั่งสมาธิยังไงก็ไม่สงบ
ถาม : ผมนั่งนานเหมือนกันครับ เป็นชั่วโมง ก็มี ทำไมมันคิดโน่นนี่ หลายเรื่องครับ บางครั้งพอนั่งก็ใจไปคิดนี่
ตอบ : ถ้าหัดมานานพอสมควรแล้วยังเ
ก็คงเพราะมีปกติเป็นคนชอบคิ
และไม่มีจริตไปทางทำสมถะจนจ
ซึ่งก็ไม่ได้ผิดอะไรนะครับ (ผมก็เป็นแบบนี้ดหมือนกัน)
ดังนั้นเราก็ต้องใช้วิธีรู้
พอจิตหลงไปคิดสักแผ๊บก็จะรู
หัดรู้แบบนี้ไปเรื่อยๆ ไม่ต้องกดข่มจิตเพื่อจะไม่ค
หรือถ้าจิตหลงคิดฟุ้งมาก ก็ให้ลุกไปเดินจงกรมเอาครับ
แล้วก็ระหว่างวันก็ให้หมั่น
กับหมั่นรู้ทันจิตที่หลงไปค
หัดแบบนี้สติจะเจริญขึ้นจนเ
จิตเหมือนเด็กที่ชอบหนีเที่ ยว
จิตก็เหมือนเด็กซนๆ นั่นเอง เวลาที่ผู้ใหญ่(มีสติ)คอยดู อยู่ ก็ไม่หนีไปไหน
ถ้าผู้ใหญ่มีงานยุ่ง หรือเจ็บไข้ได้ป่วย เด็กมันก็หนีเที่ยวเป็นธรรม ดา
บางทีเด็กก็ไปเล่นคลุกฝุ่นม อมแมม ...
เล่นไปเล่นมา บางทีก็เจ็บตัวกลับมาบ้าน
จิตที่มันชอบหนีเที่ยวนั้น
ถ้าวันหนึ่งมันรู้ว่าไปแล้ว จะเป็นทุกข์ มันก็ไม่ไปเอง
แต่วันนี้ปัญญาของจิตยังไม่ พอที่จะเห็นทุกข์
จิตก็ยังพอใจที่จะไปเที่ยวอ ยู่
การจะจัดการกับจิตนั้น ก็เหมือนจัดการกับเด็ก
คือจะหักหาญกับเขาด้วยกำลัง ไม่ได้
ต้องรู้จักขู่ ต้องรู้จักปลอบ ต้องรู้จักชม ต้องรู้จักให้รางวัล
ตรงนี้มีอุบายสารพัดที่จะจั ดการได้
จิตก็เหมือนเด็กซนๆ นั่นเอง เวลาที่ผู้ใหญ่(มีสติ)คอยดู
ถ้าผู้ใหญ่มีงานยุ่ง หรือเจ็บไข้ได้ป่วย เด็กมันก็หนีเที่ยวเป็นธรรม
บางทีเด็กก็ไปเล่นคลุกฝุ่นม
เล่นไปเล่นมา บางทีก็เจ็บตัวกลับมาบ้าน
จิตที่มันชอบหนีเที่ยวนั้น
ถ้าวันหนึ่งมันรู้ว่าไปแล้ว
แต่วันนี้ปัญญาของจิตยังไม่
จิตก็ยังพอใจที่จะไปเที่ยวอ
การจะจัดการกับจิตนั้น ก็เหมือนจัดการกับเด็ก
คือจะหักหาญกับเขาด้วยกำลัง
ต้องรู้จักขู่ ต้องรู้จักปลอบ ต้องรู้จักชม ต้องรู้จักให้รางวัล
ตรงนี้มีอุบายสารพัดที่จะจั
ในการพิจารณาธรรม จนเกิดวิมุตติหรือบรรลุธรรม นั้น จะต้องมีโยนิโสมนสิการ คือมีการพิจารณาใคร่ครวญ ให้เห็นถึงต้นเหตุ คือต้องพิจารณาให้ละเอียดรอ บครอบทุกแง่มุมและสืบไปให้ถ ึงต้นเหตุจริงๆ จนจิตบังเกิดความหลุดพ้น (วิมุตติ) ซึ่งเรียกว่าเป็น การเห็นสัจธรรม ซึ่งในขณะที่มีการเห็นสัจธร รม หรือเห็นความจริงแท้ของธรรม ชาตินั้นจะมีลำดับขั้นในการ เห็นโดยละเอียด อยู่ถึง ๙ ขั้น อันได้แก่
๑. อนิจจตา เห็นความไม่เที่ยง
๒. ทุ...กขตา เห็นความต้องทน
๓. อนัตตา เห็นความไม่ใช่ตัวตน
๔. ธัมมัฏฐิตตา เห็นความที่มันตั้งอยู่ โดยความเป็นอย่างนั้น
๕. ธัมมนิยามตา ห็นความที่มันเป็นไปตามกฎขอ งธรรมชาติอย่างนั้น
๖. อิทัปปัจจยตา เห็นความที่มันเป็นไปตามปัจ จัย
๗. สุญญตา เห็นความว่างจากตัวตน
๘. ตถตา เห็นความที่มันเป็นของมันเช ่นนั้นเอง
๙. อตัมมยตา เห็นสภาวะจิตที่ไม่มีอะไรมา ปรุงแต่งให้หวั่นไหวได้
เมื่อเรายกสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เช่น รูปขันธ์) ขึ้นมาเพ่งพิจารณา
ให้เห็นความไม่เที่ยง (หรือการเกิด-ดับ) อย่างแรงกล้า (ด้วยสมาธิ) ก็จะมองเห็นความทุกข์และถ้า เพ่งมองทุกข์ต่อไปอย่างแรงก ล้า ก็จะมองเห็นความไม่ใช่ตัวตน และถ้าเพ่งมองไปไม่หยุด ก็จะบังเกิดการเห็นต่อไปเรื ่อยๆ จนสุดท้ายจิตก็จะเกิดความเห ็นแจ้ง ในความเป็นเช่นนั้นเอง แล้วจิตก็จะหลุดพ้น และมองเห็นสภาวะจิตที่หลุดพ ้น ที่ไม่มีอะไรมาปรุงแต่งให้ห วั่นไหวได้อีกต่อไป ซึ่งการเห็นทั้งหมดนี้ จะเกิดต่อเนื่องกันอย่างรวด เร็ว แต่เราสามารถแยกแยะ ออกมาให้ศึกษาได้ถึง ๙ ขั้น โดยในแต่ละขั้นนั้นจะเรียกว ่าเป็น ญาณ ที่หมายถึง ความรู้ที่เกิดมาจากการปฏิบ ัติ แต่ญาณทั้ง ๙ ขั้นนี้เมื่อสรุปแล้วจะเหลื อเพียง ๒ ญาณ อันได้แก่
๑. ธัมมฐิติญาณ ญาณที่เห็นความตั้งอยู่ของธ รรมชาติ
๒. นิพพานญาณ ญาณที่เป็นส่วนของการดับทุก ข์
ญาณทั้งหลายถ้ายังไม่ถึงกับ ดับทุกข์ได้ จะสรุปลงในธัมมฐิติญาณ คือยังเป็นเพียงการเห็นความ ตั้งอยู่ ของธรรมชาติเท่านั้น แต่ถ้านิพพานปรากฏแล้ว
ก็จะเกิดนิพพานญาณคือ จะเกิดความรู้ว่านิพพานปราก ฏแล้ว
ถูกต้องแล้ว ไม่มีอะไรที่จะยิ่งไปกว่านี ้อีกแล้ว....
๑. อนิจจตา เห็นความไม่เที่ยง
๒. ทุ...กขตา เห็นความต้องทน
๓. อนัตตา เห็นความไม่ใช่ตัวตน
๔. ธัมมัฏฐิตตา เห็นความที่มันตั้งอยู่ โดยความเป็นอย่างนั้น
๕. ธัมมนิยามตา ห็นความที่มันเป็นไปตามกฎขอ
๖. อิทัปปัจจยตา เห็นความที่มันเป็นไปตามปัจ
๗. สุญญตา เห็นความว่างจากตัวตน
๘. ตถตา เห็นความที่มันเป็นของมันเช
๙. อตัมมยตา เห็นสภาวะจิตที่ไม่มีอะไรมา
เมื่อเรายกสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เช่น รูปขันธ์) ขึ้นมาเพ่งพิจารณา
ให้เห็นความไม่เที่ยง (หรือการเกิด-ดับ) อย่างแรงกล้า (ด้วยสมาธิ) ก็จะมองเห็นความทุกข์และถ้า
๑. ธัมมฐิติญาณ ญาณที่เห็นความตั้งอยู่ของธ
๒. นิพพานญาณ ญาณที่เป็นส่วนของการดับทุก
ญาณทั้งหลายถ้ายังไม่ถึงกับ
ก็จะเกิดนิพพานญาณคือ จะเกิดความรู้ว่านิพพานปราก
ถูกต้องแล้ว ไม่มีอะไรที่จะยิ่งไปกว่านี
วิธีที่จะฝึกให้จิตเป็นผู้ร
ยกตัวอย่าง เราอยู่กับพุทโธ พุทโธ…พุทโธ…พุทโธไปเรื่อยน
พุทโธ…พุทโธ… อ้าว จิตหนีไปคิดแล้ว คอยรู้ทัน อย่างนี้ใช้ได้ พุทโธ...…พุทโธ แล้วจิตไปนิ่งเงียบอยู่แล้ว สงบนิ่งอยู่แล้วไปเพ่งจิตอย ู่ ก็รู้ทัน
หรือมารู้ลมหายใจก็ได้ ใครชอบหายใจก็รู้ลมหายใจ หายใจออก หายใจเข้า หายใจสบายๆ หายใจแล้วไม่บังคับจิต หายใจสบาย หายใจนะ…หายใจ…เสร็จแล้วจิต ไปเพ่งลมหายใจก็รู้ จิตหนีไปคิดก็รู้ พอจิตหนีไปคิดก็รู้ปุ๊บนะ จิตจะตื่นขึ้นมาพอดีเลย
หรือขยับมืออย่างหลวงพ่อเที ยนก็ได้ หลวงพ่อเทียนท่านขยับมือสอง ข้างรวมกัน 14 จังหวะ ขยับไปแล้วรู้สึก รู้สึกตัว…ขยับ…รู้สึก…ขยับ ไปแล้วคอยรู้สึกไป ขยับไปๆ จิตแอบไปคิด รู้ทันว่าจิตแอบไปคิดละ ขยับไปแล้วจิตไปเพ่งใส่มือ รู้ทัน ตรงที่รู้ทันว่าจิตหนีไปคิด เนี่ย จิตจะตื่นขึ้นมา
ดูท้องพองยุบก็ได้ ดูท้องพองยุบไป จิตไปเพ่งที่ท้องก็รู้ทัน จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน ตรงที่จิตหนีไปคิดแล้วรู้ทั นนั่นแหละ จิตจะตื่นขึ้นมา จิตจะหลุดออกจากโลกของความค ิด
งั้นเราคอยฝึกนะ หากรรมฐานอันนึงขึ้นมาก่อน อยู่ๆ จะให้จิตเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผ ู้เบิกบานนี่ยาก ยากนะ อินทรีย์เรายังไม่แก่กล้าพอ
หรือมารู้ลมหายใจก็ได้ ใครชอบหายใจก็รู้ลมหายใจ หายใจออก หายใจเข้า หายใจสบายๆ หายใจแล้วไม่บังคับจิต หายใจสบาย หายใจนะ…หายใจ…เสร็จแล้วจิต
หรือขยับมืออย่างหลวงพ่อเที
ดูท้องพองยุบก็ได้ ดูท้องพองยุบไป จิตไปเพ่งที่ท้องก็รู้ทัน จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน ตรงที่จิตหนีไปคิดแล้วรู้ทั
งั้นเราคอยฝึกนะ หากรรมฐานอันนึงขึ้นมาก่อน อยู่ๆ จะให้จิตเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผ
การดูกาย
หลวงพ่อปราโมทย์: ดูกายต้องมีใจที่ตั้งมั่น สักว่ารู้สักว่าดูนะ ใจต้องอยู่ต่างหากเป็นแค่คน ดู ที่ฝึกอยู่พอใช้ได้แต่ตอนนี ้ไม่ได้แล้ว ตะกี้ใช้ได้ นี่ตรงนี้ใช้ได้
โยม: ค่ะ...
หลวงพ่อปราโมทย์: อย่าไปเพ่งนะ อย่าไปเพ่งกายให้ทื่อๆ ขึ้นมา ให้เราแค่เห็นร่างกายมันทำง านไป ใจเป็นคนดูอยู่ต่างหาก คนไหนดูกาย นี่หลวงพ่อพูดเหมาๆ นะ วันนี้มีเวลาครึ่งชั่วโมงเอ ง คนไหนดูกายนี่ให้เห็นร่างกา ยมันเคลื่อนไหวมันทำงานไป ใจเป็นคนดูอยู่ต่างหากนะ ใจเป็นแค่คนดูร่างกายทำงาน อย่าเหลือแต่กายอันเดียว หลายคนภาวนาผิดนะ ไปรู้ลมหายใจ เหลือแต่ลมหายใจไม่มีความรู ้สึกตัว จิตจมลงไปในลม บางคนดูท้องพองยุบนะ เหลือแต่ท้อง จิตไปเพ่งอยู่ที่ท้อง มันต้องมีจิตอยู่ต่างหาก
การแยกกายแยกใจนี่เรียกว่า ‘นามรูปปริจเฉทญาณ’ ก่อนที่จะขึ้นวิปัสสนานี่ ญาณที่หนึ่งต้องมีนามรูปปริ เฉทญาณ แยกรูปกับนามออกจากกันให้ได ้ก่อน รูปธรรมอยู่ส่วนหนึ่งนะ นามธรรมเป็นคนดู เพราะฉะนั้นเราเห็นร่างกายท ี่เดินที่ยืนที่นั่งที่นอนน ี่ไม่ใช่ตัวเรา มันจะเห็นทันทีเลย เพราะใจจะเป็นคนดูอยู่ต่างห าก
เพราะฉะนั้นต้องพยายามนะ คนไหนที่หัดรู้กาย เวลาที่รู้ลมหายใจอย่างนี้อ ย่าให้จิตไหลไปจมอยู่ที่ลมห ายใจ ให้จิตอยู่ต่างหาก จิตเป็นคนดู เห็นร่างกายนี้หายใจไป จิตเป็นแค่คนดู บางคนดูท้องพองยุบก็ให้ร่าง กายมันพองยุบไป จิตเป็นคนดูอยู่ต่างหาก คนไหนเดินจงกรมก็เห็นร่างกา ยมันเดินไป จิตเป็นคนดูอยู่ อย่าไปเพ่งใส่เท้านะ ถ้าไปเพ่งเท้าจนไม่รู้สึกถึ งความมีอยู่ของจิต จิตไปรวมอยู่ที่เท้าเป็นสมถ ะ เพราะฉะนั้นส่วนใหญ่ที่ทำนะ ได้แค่สมถะ จิตถลำลงไป จิตไม่ตั้งมั่น จิตที่ตั้งมั่นเป็นสัมมาสมา ธินี่แหละเป็นของสำคัญมาก ถ้าจิตไม่ตั้งมั่นเป็นสัมมา สมาธิ ไม่สักว่าเป็นผู้รู้ผู้ดูอย ู่นี่ จิตจะถลำลงไป ไปรู้อารมณ์แล้วก็ถลำ ไปรู้อารมณ์แล้วก็ถลำ มันจะไม่สามารถเห็นอารมณ์ทั ้งหลายตามความเป็นจริง จิตมันจะไปแช่นิ่งๆ ซื่อบื้ออยู่กับอารมณ์ อย่างนั้นไม่เกิดปัญญา ได้แต่ความสงบ
เพราะฉะนั้น คนไหนดูกายนะ รู้ไป ร่างกายเคลื่อนไหว ใจเราเป็นคนดูอย่างนี้เรื่อ ยๆ แล้วก็จะเห็นเลย ร่างกายมันก็เคลื่อนไหวของม ันไปเรื่อย จิตใจมันก็ทำงานของมันไปเรื ่อย บังคับไม่ได้สักอันเดียวทั้ งกายทั้งใจ
ทำวิปัสสนาไม่ใช่รู้กายอันเ ดียวหรือรู้จิตอันเดียว ทำวิปัสสนาจริงๆ ไม่เหมือนสมถะ สมถะรู้อันเดียว ให้จิตอยู่ในอารมณ์อันเดียว แต่วิปัสสนานี่บางครั้งสติร ู้กาย บางครั้งสติรู้จิต เลือกไม่ได้ เพราะสติเป็นอนัตตา สั่งไม่ได้ บางทีก็รู้กาย บางทีก็รู้จิต เมื่อรู้กายเราก็ให้เห็นควา มจริงของกายนะ จิตเป็นแค่คนดูอยู่ เห็นความจริงร่างกายเป็นแค่ วัตถุธาตุเคลื่อนไหวไปเรื่อ ยๆ ไม่ใช่ตัวเราหรอก จะเห็นทันทีว่าไม่ใช่เรา แต่ถ้าเราไปเพ่งท้องพองยุบไ ปเรื่อยๆ มันจะไม่เห็นว่าไม่เป็นเรา มันจะสงบไปเฉยๆ เพราะฉะนั้นใจจะต้องตั้งมั่ นเป็นแค่คนดูอยู่See More
หลวงพ่อปราโมทย์: ดูกายต้องมีใจที่ตั้งมั่น สักว่ารู้สักว่าดูนะ ใจต้องอยู่ต่างหากเป็นแค่คน
โยม: ค่ะ...
หลวงพ่อปราโมทย์: อย่าไปเพ่งนะ อย่าไปเพ่งกายให้ทื่อๆ ขึ้นมา ให้เราแค่เห็นร่างกายมันทำง
การแยกกายแยกใจนี่เรียกว่า ‘นามรูปปริจเฉทญาณ’ ก่อนที่จะขึ้นวิปัสสนานี่ ญาณที่หนึ่งต้องมีนามรูปปริ
เพราะฉะนั้นต้องพยายามนะ คนไหนที่หัดรู้กาย เวลาที่รู้ลมหายใจอย่างนี้อ
เพราะฉะนั้น คนไหนดูกายนะ รู้ไป ร่างกายเคลื่อนไหว ใจเราเป็นคนดูอย่างนี้เรื่อ
ทำวิปัสสนาไม่ใช่รู้กายอันเ
หลวงพ่อคำเขียน บอกธรรมการเจริญสติ
พบเห็นอาการของกายของใจ
“มันคิดมาก มันง่วงมาก มันหดหู่ มันเบื่อ มันรู้สึกว่ายาก
ก็ตอบว่า...ถ้าเรามีความรู้ สึกตัว สิ่งที่เกิดขึ้นเหล่านี้...
มันก็คืออาการต่างๆ ของกายและจิตใจ ความรู้สึกตัว
จะทำหน้าที่เป็นผู้เห็น ได้พบเห็นอาการเหล่านี้
และได้กระทำให้แจ้งในสิ่งเห ล่านี้ได้แล้ว
เห็นแล้วผ่านไป หลุดไป พ้นไป ไม่ใช่เรื่องแปลก
อะไร มันเป็นธรรมชาติ ธรรมดา เป็นเช่นนั้นเอง
การปฎิบัติธรรม คืออย่าเข้าไปในความคิด
อย่าให้ความคิดพาไป ให้ความรู้สึกตัวพาไป”
หลวงพ่อคำเขียน สุวัณโณ
รู้ซื่อๆไม่เป็นอะไรกับอะไร “ชีวิตสุดยอดคือไม่เป็นอะไร กับ? ไม่เป็นอะไรกับอะไรเลย สิ่งที่เกิดขึ้นกับกายกับใจ นี้ ไม่เป็นอะไรกับอะไร ชีวิตที่ ไม่เป็นอะไรกับอะไร เป็นศาสตร์เป็นศิลปะ อยู่ในโลก” หลวงพ่อคำเขียน สุวัณโณ
พบเห็นอาการของกายของใจ
“มันคิดมาก มันง่วงมาก มันหดหู่ มันเบื่อ มันรู้สึกว่ายาก
ก็ตอบว่า...ถ้าเรามีความรู้
มันก็คืออาการต่างๆ ของกายและจิตใจ ความรู้สึกตัว
จะทำหน้าที่เป็นผู้เห็น ได้พบเห็นอาการเหล่านี้
และได้กระทำให้แจ้งในสิ่งเห
เห็นแล้วผ่านไป หลุดไป พ้นไป ไม่ใช่เรื่องแปลก
อะไร มันเป็นธรรมชาติ ธรรมดา เป็นเช่นนั้นเอง
การปฎิบัติธรรม คืออย่าเข้าไปในความคิด
อย่าให้ความคิดพาไป ให้ความรู้สึกตัวพาไป”
หลวงพ่อคำเขียน สุวัณโณ
รู้ซื่อๆไม่เป็นอะไรกับอะไร
ยึดมั่นในความเห็นของตนเองม ากเท่าไหร่ ก็ทุกข์มากเท่านั้น...
เป็นทาส สิ่งที่เราไปยึดมั่นถือมั่น เอาไว้
เป็นทาส สิ่งที่เราไปยึดมั่นถือมั่น