ตำนานประวัติพระแก้วมรกต พระมหามณีรัตนปฏิมากร
พระแก้วมรกต คือ พระพุทธรูปสร้างจากก้อนแก้ว มรกต มีความสวยงามศักดิ์สิทธิ์ยิ ่งนัก ถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู ่เมืองของไทยเรา มีประวัติความเป็นมาน่าสนใจ ยิ่งทั้งในด้านประวัติศาสตร ์จะได้ทราบเรื่องราวระหว่าง ช่วง พ.ศ.1200 กว่าลงมาจึงถึงปัจจุบัน
ทำให้เราได้รู้ประวัติศาสตร ์ของชนชาติไทยที่อยู่ในดินแ ดนแหลมทองก่อนยุคสมัยสุโขทั ย พ.ศ. ...1800 ที่แผ่นดินผืนนี้ชนชาติไทยไ ด้ตั้งหลักแหล่งอาศัยอยู่ใน เมืองต่าง ๆ ในยุคสมัยทราวดีศรีวิชัย
พงศาวดารตำนานต่างๆ ที่องค์พระแก้วมรกตได้ไปโปร ดทั่วทุกภาคและประเทศเพื่อน บ้าน ดังนักประวัติศาสตร์โบราณคด ีได้สละแรงกาย แรงใจ ค้นคว้า ข้อเท็จจริงต่าง ๆ มาเผยแพร่แก่อนุชนรุ่นหลังใ ห้ได้รับทราบข้อเท็จจริง
ประวัติการสร้างพระแก้วมรกต
สมัยเมื่อพระพุทธศาสนาเจริญ รุ่งเรืองในดินแดนภาคใต้ที่ นครศรีโพธิ์ (โพธิ์) ไชยา นครตามพรลิงค์ที่นครศรีธรรม ราช และนครพานพาน ที่ตำบลเวียงสระปัจจุบัน ระหว่าง พ.ศ. 900-1400 คนไทยที่เขียนตำนานได้ให้พร ะนามพระมหากษัตริย์ในนครเหล ่านี้ว่า “พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช” เหมือนกันหมด เพราะพระองค์ท่านเหล่านี้ทำ ให้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเร ืองเหมือนอย่างพระเจ้าศรีธร รมโศกราช (อินเดีย) ตำนานไทยจึงเรียกนครของพระศ รีธรรมาโศกราชในแดนไทยว่า นครปาตลีบุตร ด้วย ในลายแทงเจดีย์วัดแก้วไชยาก ล่าวไว้ว่า
“เจดีย์วัดแก้ว ศรีธรรมาโศกสร้างแล้วแลเห็น เรืองรอง สี่เท้าพระบาท เหยียบปากพะเนียงทอง ผู้ใดคิดต้องกินไม่สิ้นเลย” แสดงว่าคนไทยโบราณเรียกกษัต ริย์ของตนเองว่า “ศรีธรรมาโศก” ซึ่งครองนครปาตลีบุตรในโคลง ยอพระเกียรติพระเจ้าตากสิน กรุงธนบุรีของนายส่วนมหาดเล ็กแต่งไว้ ได้กล่าวถึงเมือง “ปาตลีบุตร” มีว่า
ปางปาตลีบุตรเจ้า นัครา
แจ้งพระยศเดชา ปิ่นเกล้า
ทรนงศักดิ์อหังกา เกกเก่ง อยู่แฮ
ยังไป่ประนตเข้า สู่เงื้อมบทมาลย์
เจ้าปาตลีบุตรนั้น อัปรา ชัยเฮย
ไปสถิตเทพาพา พวกแพ้
หนีเข้าพึ่งตนนา ทัพเล่า
ทัพราชรีบรมแหร้ แขกม้วยเมืองทลาย
จะเห็นได้ว่าบทโคลงในสมัยนั ้นเรียกเมืองนครศรีธรรมราชว ่าเป็น “นครปาตลีบุตร”
จากจดหมายเหตุการณ์ปฏิบัติธ รรมของพระภิกษุอิจิงที่มาแว ะพัก จารึกปฏิบัติธรรมที่นครโพธิ ์ ซึ่งในภาษาจีนเรียกว่า “ฮุดซี” เมื่อ พ.ศ. 1214-1238 แล้วเดินทางจากเมืองท่ากาจา (ไทรบุรี) ไปอินเดีย เมื่อท่านเดินทางกลับจากอิน เดีย พ.ศ. 1232 ปรากฏว่ารัฐต่าง ๆ ในแถบทะเลใต้มีรัฐพานพาน (เวียงสระ) รัฐไฮลิง (ตามพรลิงค์หรือนครศรีธรรมร าช) ปองพอง (ปาหัง) กิลันตัน (กลันตัน) ปลึกฟอง (ปาเลมบัง) และรัฐอื่น ๆ อีก 10 รัฐ เข้ารวมกันเป็นประเทศ ซีหลีฮุดซี หรือที่ท่านเซเดส์เรียกว่า “ศรีวิชัย” มีพระอินทรวรมเทวะเป็นประมุ ข
ในตำนานพระแก้วมรกตของไทย กล่าวถึงพระมหากษัตริย์และพ ระราชบุตร ที่ร่วมสร้างพระแก้วมรกตถวา ยพระนาคเสน คือพระอินทร์กับพระวิษณุกรร มเทพบุตร ได้ชวนกันไปหาก้อนแก้วมรกตจ ากเขาเวบุลบรรพต คนไทยโบราณหมายถึงแดนยูนาน( น่านเจ้า) มาแปลงเป็นพระแก้วมรกตสำเร็ จในเวลา 7 วัน นามพระมหากษัตริย์ทั้งสองนี ้ เป็นพระนามจริงในประวัติศาส ตร์ของอาณาจักรศรีวิชัย
ตามประวัติศาสตร์อาณาจักรศร ีวิชัย กษัตริย์ที่ครองเมืองระหว่า ง พ.ศ. 1230-1270 ทรงพระนามว่า พระอินทร์บรมเทพ มีนามเป็นภาษาสันสกฤตว่า ศรีนทรวรมเทวะ พระองค์ได้ส่งพระราชบุตรพระ วิษณุไปถวายบังคมพระเจ้ากรุ งจีนในปี พ.ศ. 1267 จากพงศาวดารราชวงศ์สูงของจี น บันทึกไว้ว่า
“ปี พ.ศ. 1267 มีพระราชกุมาร (กิวโมโล) มาจากประเทศซีหลีฮุดซีมาถวา ย คนเงาะชายสองหญิงหนึ่งคนและ นักดนตรีคณะหนึ่งกับนกแก้วห ้าสีหลายตัว พระเจ้ากรุงจีนตั้งให้พระรา ชกุมารเป็นนายพลในกองทัพจีน และพระราชทานผ้าแพรหนึ่งร้อ ยม้วนและถวายตำแหน่งอ๋องให้ แก่เจ้าเมืองซีหลีฮุดซี พระนามว่า เช ลี โตเลปะโม” คำนี้เป็นภาษาจีนคือ ศรีน-ทะระ-วรมะ ในภาษาสันสกฤต
จากศิลาจารึกอาณาจักรศรีวิช ัย พ.ศ. 1318 พบที่วัดเวียงไชยา ของพระวิษณุ เสวยราชระหว่าง พ.ศ. 1270-1330 จารึกด้านหน้านามพระมหากษัต ริย์พระองค์หนึ่ง ชื่อศรีวิชเยศวรภูบดี ทรงสร้างปราสาทอิฐขึ้น 3 ปราสาท คือ ปราสาทอิฐวัดหลง ปราสาทอิฐวัดแก้ว ปราสาทอิฐวัดเวียง
เป็นที่ประดิษฐานพระโพธิสัต ว์วัชรปาณี สร้างอุทิศให้แก่พระอัยการผ ู้สร้างพระนครนี้อยู่ปราสาท องค์ทิศเหนือ
ปราสาทองค์ทิศใต้ ประดิษฐานพระโพธิสัตว์ปัทมป าณี อุทิศให้พระอินทร์พระราชบิด า
ส่วนปราสาทองค์กลาง ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารว ิชัย
ด้านหลังแผ่นศิลาจารึก ลงนามผู้สร้างจารึกนี้นามว่ าพระวิษณุ (วิษฺณวาชโย) เป็นประมุขไศเลนทร์วงศ์
จากศิลาจารึกนี้ ทำให้เราทราบถึงอาณาจักรศรี วิชัย และพระวิษณุเป็นกษัตริย์ครอ งนครโพธิ์องค์ที่ 3 พระองค์ทรงสร้างพระโพธิสัตว ์อวโลกิเตศวรเนื้อสำฤทธิ์ขึ ้นสององค์ คือ พระโพธิสัตว์ปัทมาปาณีกับพร ะโพธิสัตว์วัชรปาณี ซึ่งมีพุทธลักษณะงดงามมาก
องค์ใหญ่มีเครื่องประดับน้อ ย ซึ่งสร้างก่อนองค์เล็กที่มี เครื่องทรงประดับวิจิตรงดงา ม สร้างอุทิศให้พระอัยกาและพร ะบิดาตามวัฒนธรรมไศเลนทร์ ตามความเชื่อของคนโบราณในกา รสร้างพระบรมธาตุเจดีย์สำหร ับประดิษฐานพระบรมสารีริกธา ตุ
พระมหากษัตริย์องค์ใดที่มีค วามเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาท ำให้พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือ งเป็นที่ยกย่องของคนทั่วไป เมื่อสวรรคตแล้วจึงมีการสร้ างเจดีย์เป็นที่บรรจุอัฐิธา ตุของพระนางจามเทวี หรือการสร้างพระพุทธรูปอุทิ ศถวายเพื่อเป็นความหมายของน ิพพานธรรม เช่น พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชสร้าง พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรม ราช
ในตำนานพระแก้วมรกตและประวั ติศาสตร์ศรีวิชัยกล่าวไว้ว่ านครโพธิ์เจริญรุ่งเรืองมาก ในสมัยพระอินทร์และพระวิษณุ ในการหล่อพระโพธิสัตว์วัชรป าณีด้วยฝีพระหัตถ์ของพระวิษ ณุเทพบุตร ซึ่งเป็นกษัตริย์จึงทำตรีเน ตรเป็นตุ่มเล็กๆ ระหว่างพระเนตรของพระพุทธรู ป อุทิศให้กับพระอินทร์พระราช บิดา ตุ่มนี่จึงเป็นความหมายของท ้าวสามตาพระอินทร์
องค์พระแก้วมรกต ที่พระวิษณุกรรมสร้างให้เป็ นตัวแทนของพระมหาธรรมรักขิต ซึ่งเป็นพระอรหันต์ก็เป็นตร ีเนตรแต่เดิมฝังเพชรเม็ดเล็ กไว้ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าฯ ได้ถวายเพชรเม็ดใหญ่ เปลี่ยนเพชรตรีเนตรแบบศรีวิ ชัยออก
เมื่อพระวิษณุสวรรคต มีผู้สร้างพระโพธิสัตว์แทนพ ระองค์ท่านขึ้นที่เมืองไชยา เป็นพระโพธิสัตว์มี 4 กร ด้วยที่ท่านมีพระนามในศิลาจ ารึกว่า พระวิษณุ จึงสร้างพระนารายณ์แทนองค์ท ่าน แต่ไม่มีเครื่องหมายตรีเนตร เพราะคนสร้างมิได้เป็นกษัตร ิย์หรือองค์เจ้า
ในปลายรัชกาลพระอินทร์ พระวิษณุราชบุตรได้ร่วมกันส ร้างพระแก้วมรกตขึ้น เมื่อประมาณ พ.ศ. 1260-1270 ที่นครโพธิ์ไชยา ส่วนพระภาณุโอรสของพระอินทร ์อีกพระองค์หนึ่งได้ไปปกครอ งเกาะชวา เป็นปฐมวงศ์ของไศเลนทร์วงศ์ อีกสาขาหนึ่งที่ได้สร้างเจด ีย์บรมพุทโธเจดีย์ปะวน เจดีย์มณฑปในเกาะชะวา เป็นศิลปของพระพุทธศาสนาตรา บเท่าทุกวันนี้
ตำนานพระแก้วมรกต กล่าวถึงพระมหากษัตริย์นครป าตลีบุตร ต่อจากพระวิษณุกรรม คือพระราชาธิราชบุนดะละและพ ระเจ้าดะกะละ (หลานของพระเจ้าบุนดะละ) แล้วถึงพระศิริกิตติกุมาร ในรัชกาลของพระศิริกิตติ เกิดศึกสงครามคนล้มตายเป็นอ ันมาก พวกข้าปฏิบัติรักษาพระแก้วม รกต เห็นเหตุการณ์ไม่ดี กลัวพระแก้วจะเสียหาย จึงอัญเชิญพระแก้วมรกตขึ้นส ู่เรือสำเภาลำหนึ่งพร้อมกับ พระธรรมปิฏก พากันหนีไปสู่กัมโพชวิสัย คือ ลังกาทวีปที่นครศรีธรรมราช
ตามตำนานพระแก้ว กษัตริย์ที่ครองนครโพธิ์ รหือนครปาตลีบุตรเป็นลูกหลา นกษัตริย์ของพระเจ้ากรุงทวา ราวดีที่อู่ทอง พ.ศ. 1100-1200
ในประมาณ พ.ศ. 1180 พระเจ้าอนุรุธกษัตริย์มอญได ้ยกกองทัพมาตีกรุงทวาราวดี ลูกหลานของพระเจ้ากรุงทวารา วดีพวกหนึ่งอพยพลงมาตั้งนคร โพธิ์ที่ไชยา
อีกพวกหนึ่งไปตั้งนครละโว้ ขึ้นเป็นเมืองหลวง พระเจ้ากรุงละโว้ได้ส่งพระน างจามเทวีไปครองนครหริภุญชั ย เมื่อประมาณ พ.ศ.1205
ต่อมาถึง พ.ศ. 1400 พระเจ้าศิริกิตติได้ยกกองทั พไปยึดนครละโว้ (จากตำนานมูลศาสนา ชินกาลมาลีปกรณ์จามเทวีวงศ์ ได้กล่าวไว้) ทางนครปาตลีบุตร เกิดการแย่งชิงราชสมบัติขึ้ นมีผู้เกรงพระแก้วมรกตจะเสี ยหายจึงได้ลักลอบพาลงเรือไป นครศรีธรรมราช ซึ่งมีกษัตริย์ไศเลนทร์วงศ์ องค์หนึ่งปกครองอยู่พุทธศาส นานครนี้ก็เจริญรุ่งเรือง
จากพงศาวดารเหนือของไทยเขีย นไว้ว่า พระเจ้าอนุรุธ กษัตริย์องค์ปฐมวงศ์ของมอญเ ป็นผู้ตั้งจุลศักราชขึ้นเมื ่อ พ.ศ. 1181 เมืองต่าง ๆ ของคนไทยทางแดนล้านนาตกอยู่ ภายใต้การปกครองของมอญและพม ่าเป็นเวลานานมาก จนนิยมใช้จุลศักราช กษัตริย์ในดินแดนล้านนาไปชุ มนุมกันทั่วล้านนา ยกเว้นแต่กษัตริย์ที่นครหริ ภุญชัยและสวรรคโลก
พอตั้งจุลศักราชได้ปีเดียวพ ระเจ้าอนุรุธก็สวรรคต พระเจ้ากากวรรณดิศราชโอรสพร ะเจ้าอนุรุธยกทัพมาตีเมืองล ะโว้ถึง 7 ปี แล้วมาตั้งพระประโทนเจดีย์ท ี่นครปฐม เมื่อ พ.ศ. 1199
ตำนานไทยโบราณเรียกนามกษัตร ิย์ทางดินแดนมอญว่าพระเจ้าอ นุรุธไปทุกพระองค์หลายยุค เหมือนตำนานไทยเรียกพระเจ้า แผ่นดินทางไชยาเวียงสระนครศ รีธรรมราชว่า พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช เรียกกษัตริย์ทางกรุงสุโขทั ยว่า พระร่วงไปทุกพระองค์ ตำนานพระแก้วมรกตฉบับของ ชินกาลมาลีปกรณ์ กล่าวไว้ว่า พระเจ้าอนุรุธที่ไปชิงพระแก ้ว เป็นลูกหลานของพระเจ้าอนุรุ ธที่ตั้งจุลศักราช
ดินแดนของไทยที่อยู่ตั้งแต่ เชียงแสนไปกำแพงเพชรละโว้ อโยธยา ไชยา นครศรีธรรมราช ตลอดเวลาสองพันปีที่คนไทยได ้เขียนตำนานเล่าไว้เป็นความ จริงทั้งสิ้น แต่เราไปเชื่อประวัติศาสตร์ ที่ฝรั่งเขียนไว้ว่า ตำนานที่คนไทยเขียนไว้เป็นน ิยายไม่มีความจริงทางประวัต ิศาสตร์
ดินแดนแห่งนี้มีการรบมุ่งกั บพวกมอญทางด้านตะวันตกและเข มรทางดินตะวันออก ผลัดกันแพ้ชนะกันมาหลายยุคห ลายสมัย คนไทยโบราณที่อยู่ทางล้านนา เรียกว่าพวกโยนกคนไทยโบราณท ี่อยู่ทางละโว้ อโยธยา ไชยา นครศรีธรรมราช เรียกว่า พวกกัมโพช (หมายถึงชาวใต้ในสมัยต่อมาเ มื่อคนไทยที่มีมารดาเป็นเขม รมีอำนาจมาก ไทยเหนือเลยเรียกไทยใต้ว่า เป็นพวกขอมไปหมด)
ตำนานต่าง ๆ ของไทยและพงศาวดารเหนือ จดเรื่องก่อนสมัยตั้งกรุงอโ ยธยาที่หนองโสน ล้วนเป็นเรื่องของไทยกัมโพช หรือไทยไศเลนทร์ มาตั้งนครที่สวรรคโลก กำแพงเพชร ละโว้ อโยธยา ไชยา นครศรีธรรมราช
คนไทยที่สร้างพระแก้วมรกตเร ียกตัวเองในศิลาจารึกว่า ไศเลนทร์วงศ์ ตำนานพระแก้วมรกตเรียกเมือง นครศรีธรรมราชว่าลังกาทวีปก ัมโพชวิสัยปาตลีบุตร
ลังกา หมายถึง เมืองที่มีพระไตรปิฏกของชาว กัมโพช เมืองที่พุทธศาสนาเจริญรุ่ง เรืองอย่างชมพูทวีป คือ เมืองนครศรีธรรมราช
ตามตำนานพระแก้วมรกตว่า พระเจ้าอนุรุธได้ยกกองทัพม้ ามาเอาพระแก้วมรกตที่ลังกาท วีป (ตามตำนานจะเป็นเกาะลังกาขอ งชาวสิงห์ไม่ได้ เพราะมาทางบกจากเมืองมอญลงม าทางใต้ต้องเป็นเมืองพระไตร ปิฏกที่นครศรีธรรมราช) แล้วนำพระไตรปิฏกกับพระแก้ว มรกตลงเรือนำกลับเมืองมอญ แต่เรือสำเภาพระแก้วมรกต พวกไศเลนทร์วงศ์ได้ปลอมปนลง มาบนเรือสำเภาแล้วประหารพวก มอญที่ควบคุมอยู่จากนั้นก็น ำเรือสำเภาพระแก้วมรกตเข้าป ากน้ำปันทายมาสหนีไปยังนครอ ินทปัตรได้
นครอินทปัตในตำนานพระแก้วมร กต เป็นนครของไศเลนทร์วงศ์ที่ไ ด้นางเขมรเป็นมเหสี ทางเขมรถึงว่า ถ้ามารดาเป็นเขมร ต้องเป็นเขมร
ต้นราชวงศ์เขมร คือ พราหมณ์กัมพู มาได้นางเขมรเป็นมเหสีลูกหล านของพราหมณ์กัมพูก็ต้องเป็ นเขมรที่เรียกกันว่า พวกเจนละ
จนมาถึงสมัยพระอุทัยราช ได้นางนาคเป็นมเหสี เป็นธรรมเนียมของกษัตริย์ไศ เลนทร์ที่ปกครองพระนครวัด ต้องมีมเหสีเป็นเขมร มิฉะนั้นพรรคพวกพระยานาคจะก ่อการกบฏ พระนางมีโอรสออกมาเป็นฟอง ต้องนำไปทิ้ง พระคงเคราเมืองละโว้ได้เก็บ ไปเลี้ยงไว้ ภายหลังได้เป็นพระร่วงเมือง ละโว้
โอรสของนางนาคอีกพระองค์หนึ ่งเป็นมนุษย์ทรงพระนามว่า พระเจ้าปทุมสุริยวงศ์ ครองราชย์เป็นรัชกาลที่ 5 (นักประวัติศาสตร์ฝรั่งเรีย ก ยโศวรมเทวะ ระหว่าง พ.ศ. 1432-1453) มีอำนาจมากได้ปราบปรามหัวเม ืองใกล้เคียงอยู่ในอำนาจดิน แดนไทยเมืองหลายแห่งต้องส่ง ส่วยให้พระองค์
เมื่อพวกไศเลนทร์จากนครศรีธ รรมราช นำเรือสำเภาพระแก้วมรกตเข้า มาถึงนครอินทรปัตในปลายรัชก าลพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์ พระองค์ทรงโสมนัสปลื้มปิติใ นองค์พระแก้วมรกตมาก ทรงถวายพระนครของพระองค์ให้ แก่พระแก้วมรกต หลังจากสมโภชแล้วก็ส่งเสริม พระพุทธศาสนาเป็นการใหญ่ พระองค์ก็ปฏิบัติบูชาพระแก้ วมรกตเป็นประจำมิได้ขาด พระพุทธศาสนาก็เจริญรุ่งเรื องไปทั่วสกลทวีป มีชัยเหนือศาสนาพราหมณ์ในทั ่วดินแดนพระนครอินทรปัต
เมื่อพระองค์ยกปราสาทราชวัง ถวายแก่พระแก้วมรกตเป็นพระน ครวัดแล้ว พระองค์ก็ไปสร้างพระนครหลวง ใหม่ ที่ยโศธร ปุระ โดยเอาภูเขาพนมบาแค็ง (ผาแค็ง) เป็นใจกลางของพระนครหลวง ต่อมาลูกหลานขอมทุกยุคทุกสม ัย จึงยกย่องพระองค์เป็นเทพเจ้ าประจำยโศธรปุระเมืองพระนคร หลวง
ในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 พ.ศ.1656-1695 ได้ทรงสร้างปราสาทนครวัดตรง พระนครที่พระปทุมสุริยวงศ์ ถวายแก่พระแก้วมรกตสร้างเป็ นปรางค์ขอม มีเก้ายอดเป็นสัญลักษณ์แสดง ว่า กษัตริย์ผู้ทำให้ศาสนาเจริญ รุ่งเรืองเข้าถึงพระพุทธศาส นาเสมือนผู้บรรลุนิพพานธรรม
ยอดกลางสูงสุดหมายถึงพระนิพ พาน ยอดสี่ยอด ยอดอีกสองชั้น แสดงถึงมรกต 4 ผล 4 ยอดปรางค์ ทำเป็นฉัตรหลายชั้น ฉัตรแต่ละชั้นประดับด้วยกลี บบัวเหมือนฝักข้าวโพดยอดปรา สาทนครวัดทั้งเก้ายอดปิดทอง เหลืองอร่ามไปหมด ตามแบบไศเลนทร์
ปราสาทใหม่ที่พระระเบียงวิห ารคดของปราสาทนครวัดสลักเป็ นภาพ นรก สวรรค์ ตามคัมภีร์ไตรภูมิ แสดงให้เห็นว่าปราสาทนครวัด เป็นปรางค์ของฝ่ายพระพุทธศา สนามีภาพสลักเป็นเรื่องรามเ กียรติ์มหาภารตะ เพื่อยกย่องพระเจ้าปทุมสุริ ยวงศ์เป็นกษัตริย์ที่ทรงธรร มและมีฤทธิ์อำนาจเหมือนพระน ารายณ์ ตอนสมัยท่านมีชีวิตอยู่พระอ งค์ชอบมานั่งวิปัสสนาในปราส าทพระแก้ว เมื่อพระองค์สวรรคตแล้วก็บร รจุอัฐิของท่านไว้ที่นี้ด้ว ย ลูกหลานของท่านทุกพระองค์จึ งนิยมไปนั่งวิปัสสนาที่นครว ัด
พงศาวดารกรุงกัมพูชา เล่าถึงตอนที่พระแก้วมรกตอย ู่ในนครอินทรปัตได้ถูกต้องก ว่าฉบับอื่น ๆ ว่าพระแก้วมรกตเข้ามาในรัชก าลของพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์ จนถึงรัชกาลที่ 6 พระทะเมิญชัย จึงได้โปรดให้นำพระไตรปิฏกท ี่ติดมากับเรือสำเภาพระแก้ว มรกต ส่งคืนไปให้พระเจ้าอนุรุธ แต่องค์พระแก้วมรกตไม่ยอมคื นให้
ตามตำนานพระแก้วมรกต เขียนไว้ว่าเมื่อพระเจ้าอนุ รุธไม่ได้พระแก้วมรกต ก็ได้ติดตามปลอมเป็นราษฎรไป สืบเรื่องพระแก้วมรกต เมื่อรู้ว่าพระแก้วมรกตตกไป อยู่ในเมืองอินทรปัต พระองค์ก็ไม่กล้าตามไปแย่งเ อามา เพราะเมืองอันทรปัตตอนนั้นม ีพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์กษัตร ิย์ผู้เรืองอำนาจมีพระเดชาน ุภาพมาก
ต่อมามีลูกหลานของพระเจ้าปท ุมสุริยวงศ์ปกครองตั้งแต่ พ.ศ. 1453-1471 อีก 6 พระองค์ จนประมาณ พ.ศ. 1471 พวกเจ้านายเขมรได้มาแย่งชิง เมืองได้ (พงศาวดารกัมพูชาว่าเป็นราช วงศ์ใหม่ตั้งนครหลวงที่โคห์ แกร์ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนื อ)
มีการกวาดล้างพวกเจ้านายขอม จนบางพวกต้องหนีไปพึ่งพวกไศ เลนทร์วงศ์ที่เมืองละโว้
ในรัชกาลพระเสนก โอรสของพระเสนกเลี้ยงแมลงวั นเขียวถูกแมงมุมเสือของบุตร ปุโรหิตเขมรที่เลี้ยงไว้กิน แมลงวันเขียวของพระโอรส พระเสนกให้ทหารไปจับบุตรของ ปุโรหิตไปถ่วงน้ำ เพราะเหตุว่าพระเสนกไม่ทรงธ รรม พวกเขมรจึงชวนกันก่อการกบฏป ราบขอม พระเถระต้องพาพระแก้วมรกตหน ีไปอยู่ที่ปราสาทตาแก้ว ซึ่งมีพวกไศเลนทร์อยู่
ข่าวการเกิดจลาจลในนครอินทร ปัตทราบไปถึง พระเจ้าอาทิตย์ราช ซึ่งครองราชย์สมบัติในกรุงอ โยธยาปุระในลุ่มน้ำเจ้าพระย า พระอาทิตย์ราชเป็นห่วงพระแก ้วมรกต เกรงพวกเขมรที่นับถือพระศิว ะจะทำลายเสีย แล้วตั้งศิวลึงค์แทน จึงรีบยกทัพพร้อมด้วยจัตุรง คเสนา ทะแกล้วทหารเป็นอันมากไปเอา พระแก้วมรกตมาไว้ตั้งแต่รัช กาลพระเสนก พ.ศ.1545 แล้วกวาดต้อนผู้คนที่รักษาพ ระแก้วมรกตเป็นอันมาก แล้วเสด็จกลับมายังกรุงอโยช ฌ ปุระที่หนองโสน
ตามตำนานพระแก้วมรกตและตำนา นไทย กล่าวว่าพระอาทิตยราชนี้เป็ นกษัตริย์ไทย ลูกหลานของพระอินทร์ผู้สร้า งพระแก้วมรกตในสมัยพระเจ้าศ ิริธรรมราชได้ยกกองทัพบก กองทัพเรือมายึดนครละโว้ไว้ ได้ในปี พ.ศ. 1400
ต่อมาประมาณ พ.ศ. 1417 กษัตริย์ขอมที่เมืองพระนครอ ินทรปัตถูกกวาดล้าง
ธิดาของพระอินทรวรมัน พี่น้องของพระเจ้าปทุมสุริย ะวงศ์มาเป็นมเหสีของพระเจ้า กรุงละโว้พระองค์หนึ่ง มีพระโอรสเป็นพระอาทิตยราช ต่อมาได้ย้ายพระนครจากละโว้ กลับมายังนครอโยชฌ ปุระโบราณ ตรงเมืองอู่ทอง
แต่นักประวัติศาสตร์ฝรั่งเข ียนประวัติศาสตร์เขมรว่า เป็นพระสุรยวรมเทวะ (สุรยวรมันที่ 1) เป็นกษัตริย์เขมรในเมืองพระ นคาอินทรปัต ปี พ.ศ. 1545-1592 ได้มาแย่งราชสมบัติจากราชวง ศ์เดิมได้ มีอาณาเขตกว้างขวางตลอดดินแ ดนไทยทั้งหมด เพราะเป็นโอรสของพระเจ้ากรุ งตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช) และเข้ามาครองกรุงกัมพูชา โดยอ้างพระราชมารดาของพระอง ค์เป็นธิดาของพระเจ้าอินทรว รมันที่ 1 มีสิทธิ์ในราชบัลลังค์นี้ จึงปราบไปทั่วเกือบหมดแดนกั มพูชาโบราณสถานที่สร้างในสม ัยพระองค์ มีปราสาทพิมานากาศปราสาทตาแ ก้วและปราสาทเขาพระวิหารสมั ยสุริยวรเทวะคนในลุ่มน้ำเจ้ าพระยาและลุ่มน้ำตาปีใช้คำว ่า “สุริยงศ์” เข้ามาแทนคำว่า “ไศเลนทร์”
ประมาณ พ.ศ. 1595 พระอาทิตยราชสวรรคตพระยาจัน ทโชติอำมาตย์ พระสามีของเจ้าฟ้าปฏิมาสุดา จันทร์เป็นกษัตริย์องค์ต่อม า เนื่องจากไม่มีโอรสสืบวงศ์ เจ้าฟ้าปฏิมาสุดาดวงจันทร์พ ระธิดาในสุริยวงศ์ ซึ่งมีสิทธิในราชบัลลังค์พร ะสามีพระเจ้าจันทโชติจึงขึ้ นเสวยราชย์แล้วย้ายนครหลวงจ ากอโยชฌปุระ ไปนครละโว้ตามเดิม หลังจากเสวยราชได้ 5 ปี ได้สร้างวัดกุฎีทอง ถวายพระอาจารย์ส่วนพระอัครม เหสีสร้างวัดคงคาวิหาร
พ.ศ. 1601 พระเจ้าอโนรธามังฉ่อ กษัตริย์มอญ ลูกหลานของพระเจ้าอนุรุธ ทราบข่าวการผลัดเปลี่ยนแผ่น ดินมีการแย่งชิงราชสมบัติ จึงยกทัพมาล้อมเมืองละโว้ พระเจ้าจันทโชติเห็นว่าไม่ส ามารถสู้กับกองทัพมอญได้ จึงปรึกษาเจ้าฟ้าปฏิมาสุดาด วงจันทร์ ขอถวายพระพี่นางเจ้าฟ้าแก้ว ประพาสให้กษัตริย์มอญ-พม่า เป็นอัครมเหสีเพื่อเป็นทางพ ระราชไมตรี
ต่อมามีโอรสเป็น พระนเรศวรหงศา ส่วนเจ้าฟ้าปฏิมาสุดาดวงจัน ทร์มีโอรสเป็นพระนารายณ์ เมื่อมีพระชนม์ได้ 14 ปี ได้ไปเยี่ยมพระเจ้าป้าอยู่จ นคุ้นเคยในราชสำนักพระเจ้าอ โนรธามังฉ่อ เกิดวิวาทกับพระนเรศวรหงศา
พระนารายณ์จึงเกลี้ยกล่อมชา วไทยและมอญ ที่ตกอยู่ทางกรุงหงศาพาหนีก ลับมาได้จำนวนมาก พอพระบิดาสวรรคตพระนารายณ์ซ ึ่งเป็นหลานทางสายมารดาได้ค รองราชย์ ก็ย้ายนครหลวงกลับไปอโยชฌปุ ระ
ปี พ.ศ. 1630 พระนเรศวรหงศา ยกกำลังพลสีแสนมาปิดล้อมกรุ งอโยชฌปุระ แล้วมีการนัดก่อเจดีย์พนันเ มืองกัน พระเรศวรหงศาแพ้ยกทัพกลับไป พระนารายณ์ได้ไปสร้างพระปรา งค์สามยอดเมืองละโว้ แล้วขนานนามเมืองละโว้ใหม่ว ่า เมืองลพบุรี
พระนารายณ์สร้างพระปรางค์สา มยอดที่ละโว้ ตามความเชื่อของวัฒนธรรมไศเ ลนทร์สร้างเป็นมณเฑียรธรรมใ นพระพุทธศาสนาสร้างอุทิศให้ บรรพบุรุษ ยอดกลางประดิษฐานพระพุทธรูป ยอดซ้ายและขวาประดิษฐานพระโ พธิสัตว์หรือพระพุทธรูปทรงเ ครื่อง
พระองค์สร้างอุทิศให้แก่พระ บิดา พระอัยกา เมื่อพระนารายณ์ ประชวรสวรรคต อำมาตย์เก้าคนฆ่าฟันแย่งชิง ราชสมบัติกับพระเจ้าหลวงได้ ราชสมบัติ ให้ยกวังเป็นวัด แล้วลงไปสร้างพระนครอโยธยาใ หม่อยู่ท้ายเมืองไปวัดโปรดส ัตว์
ตำนานพระแก้วมรกตเล่าถึง พระแก้วมรกตประดิษฐานอยู่ใน กรุงอโยธยามานาน สืบได้พระมหากษัตริย์หลายพร ะองค์ จนอยู่มาวันหนึ่ง เจ้าพระยากำแพงเพชรยกกองทัพ เรือลงมาขอพระแก้วมรกตขึ้นไ ปไว้ในเมืองกำแพงเพชร
เมืองกำแพงเพชรโบราณ คงจะมีมาก่อนแต่ไม่ค่อยมีหล ักฐานของกษัตริย์ที่คงเมือง มากนัก จะมีก็แต่โบราณสถานเก่าแก่ท ั่วไป ในแถบทุ่งเศรษฐีที่พบพระพิม พ์ต่าง ๆเช่น พระจำพวกซุ้มกอ พระกำแพง ลีลาต่าง ๆ
มีตำนานพระพิมพ์ ที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ โบราณผู้ทรงธรรมจนมีผู้เรีย กเทียบเท่าพระเจ้าศรีธรรมาโ ศกราชที่มหานครแถวเมืองกำแพ งเพชร มีประวัติว่า พระฤาษี 11 ตน ได้ปรึกษากันที่จะสร้างอะไร เพื่อเป็นพระเกียรติแก่พระย าศรีธรรมาโศก แล้วก็ช่วยกันทำพระพิมพ์แบบ กำแพงเพชรขึ้นมาเป็นจำนวนมา ก ทำให้เราทราบเกี่ยวกับพระพุ ทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก่อ นเป็นเวลาเป็นพันปี และมีชนชาติไทยเราอาศัยอยู่ มีเมืองต่าง ๆ รบพุ่งกันตลอดมา เราเพียงแต่รู้ประวัติศาสตร ์จากศิลาจารึกในช่วง 1 สองสมัยพระร่วงชนช้างกับเจ้ าสมาชนเจ้าเมืองฉอด (อยู่แถวจังหวัดตาก)
จากหนังสือพระบรมราชธิบายขอ งรัชกาลที่ 5 เขียนถึงพระแก้วมรกตว่า “ต่อนั้นไปจึงถึงวัดใหญ่ซึ่ งมีวิหารอย่างเดียวกันกลางเ ป็นรูปไม้สิบสอง จะเป็นเจดีย์หรือปรางค์อันใ ดพังเสียหรือไม่ แล้วด้านหลังก็เป็นวิหารใหญ ่ อีกหลังหนึ่งในลานวัดนั้นเต ็มไปด้วยพระเจดีย์ที่เป็นฐา นเดียวกันหลาย ๆ องค์บ้าง ลักษณะเดียวกับวัดหน้าพระธา ตุลพบุรีและวัดพระมหาธาตุ เมืองนครศรีธรรมราช จะเป็นวัดอื่นนอกจากวัดหน้า พระธาตุไม่ได้เลย
พระแก้วมรกต คือ พระพุทธรูปสร้างจากก้อนแก้ว
ทำให้เราได้รู้ประวัติศาสตร
พงศาวดารตำนานต่างๆ ที่องค์พระแก้วมรกตได้ไปโปร
ประวัติการสร้างพระแก้วมรกต
สมัยเมื่อพระพุทธศาสนาเจริญ
“เจดีย์วัดแก้ว ศรีธรรมาโศกสร้างแล้วแลเห็น
ปางปาตลีบุตรเจ้า นัครา
แจ้งพระยศเดชา ปิ่นเกล้า
ทรนงศักดิ์อหังกา เกกเก่ง อยู่แฮ
ยังไป่ประนตเข้า สู่เงื้อมบทมาลย์
เจ้าปาตลีบุตรนั้น อัปรา ชัยเฮย
ไปสถิตเทพาพา พวกแพ้
หนีเข้าพึ่งตนนา ทัพเล่า
ทัพราชรีบรมแหร้ แขกม้วยเมืองทลาย
จะเห็นได้ว่าบทโคลงในสมัยนั
จากจดหมายเหตุการณ์ปฏิบัติธ
ในตำนานพระแก้วมรกตของไทย กล่าวถึงพระมหากษัตริย์และพ
ตามประวัติศาสตร์อาณาจักรศร
“ปี พ.ศ. 1267 มีพระราชกุมาร (กิวโมโล) มาจากประเทศซีหลีฮุดซีมาถวา
จากศิลาจารึกอาณาจักรศรีวิช
เป็นที่ประดิษฐานพระโพธิสัต
ปราสาทองค์ทิศใต้ ประดิษฐานพระโพธิสัตว์ปัทมป
ส่วนปราสาทองค์กลาง ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารว
ด้านหลังแผ่นศิลาจารึก ลงนามผู้สร้างจารึกนี้นามว่
จากศิลาจารึกนี้ ทำให้เราทราบถึงอาณาจักรศรี
องค์ใหญ่มีเครื่องประดับน้อ
พระมหากษัตริย์องค์ใดที่มีค
ในตำนานพระแก้วมรกตและประวั
องค์พระแก้วมรกต ที่พระวิษณุกรรมสร้างให้เป็
เมื่อพระวิษณุสวรรคต มีผู้สร้างพระโพธิสัตว์แทนพ
ในปลายรัชกาลพระอินทร์ พระวิษณุราชบุตรได้ร่วมกันส
ตำนานพระแก้วมรกต กล่าวถึงพระมหากษัตริย์นครป
ตามตำนานพระแก้ว กษัตริย์ที่ครองนครโพธิ์ รหือนครปาตลีบุตรเป็นลูกหลา
ในประมาณ พ.ศ. 1180 พระเจ้าอนุรุธกษัตริย์มอญได
อีกพวกหนึ่งไปตั้งนครละโว้ ขึ้นเป็นเมืองหลวง พระเจ้ากรุงละโว้ได้ส่งพระน
ต่อมาถึง พ.ศ. 1400 พระเจ้าศิริกิตติได้ยกกองทั
จากพงศาวดารเหนือของไทยเขีย
พอตั้งจุลศักราชได้ปีเดียวพ
ตำนานไทยโบราณเรียกนามกษัตร
ดินแดนของไทยที่อยู่ตั้งแต่
ดินแดนแห่งนี้มีการรบมุ่งกั
ตำนานต่าง ๆ ของไทยและพงศาวดารเหนือ จดเรื่องก่อนสมัยตั้งกรุงอโ
คนไทยที่สร้างพระแก้วมรกตเร
ลังกา หมายถึง เมืองที่มีพระไตรปิฏกของชาว
ตามตำนานพระแก้วมรกตว่า พระเจ้าอนุรุธได้ยกกองทัพม้
นครอินทปัตในตำนานพระแก้วมร
ต้นราชวงศ์เขมร คือ พราหมณ์กัมพู มาได้นางเขมรเป็นมเหสีลูกหล
จนมาถึงสมัยพระอุทัยราช ได้นางนาคเป็นมเหสี เป็นธรรมเนียมของกษัตริย์ไศ
โอรสของนางนาคอีกพระองค์หนึ
เมื่อพวกไศเลนทร์จากนครศรีธ
เมื่อพระองค์ยกปราสาทราชวัง
ในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่
ยอดกลางสูงสุดหมายถึงพระนิพ
ปราสาทใหม่ที่พระระเบียงวิห
พงศาวดารกรุงกัมพูชา เล่าถึงตอนที่พระแก้วมรกตอย
ตามตำนานพระแก้วมรกต เขียนไว้ว่าเมื่อพระเจ้าอนุ
ต่อมามีลูกหลานของพระเจ้าปท
มีการกวาดล้างพวกเจ้านายขอม
ในรัชกาลพระเสนก โอรสของพระเสนกเลี้ยงแมลงวั
ข่าวการเกิดจลาจลในนครอินทร
ตามตำนานพระแก้วมรกตและตำนา
ต่อมาประมาณ พ.ศ. 1417 กษัตริย์ขอมที่เมืองพระนครอ
ธิดาของพระอินทรวรมัน พี่น้องของพระเจ้าปทุมสุริย
แต่นักประวัติศาสตร์ฝรั่งเข
ประมาณ พ.ศ. 1595 พระอาทิตยราชสวรรคตพระยาจัน
พ.ศ. 1601 พระเจ้าอโนรธามังฉ่อ กษัตริย์มอญ ลูกหลานของพระเจ้าอนุรุธ ทราบข่าวการผลัดเปลี่ยนแผ่น
ต่อมามีโอรสเป็น พระนเรศวรหงศา ส่วนเจ้าฟ้าปฏิมาสุดาดวงจัน
พระนารายณ์จึงเกลี้ยกล่อมชา
ปี พ.ศ. 1630 พระนเรศวรหงศา ยกกำลังพลสีแสนมาปิดล้อมกรุ
พระนารายณ์สร้างพระปรางค์สา
พระองค์สร้างอุทิศให้แก่พระ
ตำนานพระแก้วมรกตเล่าถึง พระแก้วมรกตประดิษฐานอยู่ใน
เมืองกำแพงเพชรโบราณ คงจะมีมาก่อนแต่ไม่ค่อยมีหล
มีตำนานพระพิมพ์ ที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์
จากหนังสือพระบรมราชธิบายขอ
เรื่องนี้เกิดขึ้นเมื่อครั้
หลังจากท่านอุปัชฌาย์อุ่นลา
"อะไรกัน นั่นรูปพระพุทธเจ้าแท้ๆ ยังเอาผ้าเช็ดพื้นมาถูได้"
ผู้เล่าสะดุ้งไปทั้งตัว เพราะความโง่เขลาปัญญาอ่อน ท่านฯ ก็เลยทำความสะอาดเอง
เสร็จแล้วก็มีเพื่อนภิกษุทย
"พระแก้วมรกตประดิษฐานอยู่ใ
การเสด็จไปสู่สถานที่ต่างๆ ของพระแก้วมรกตนั้นมีปัจจัย
และท่านยังบอกอีกว่า วัดพระแก้วนี้เป็นวัดพระพุท
ผู้รู้ทั้งพุทธอัธยาศัยและพ
พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค
ผู้ใดย่างกรายเข้าสู่วัดพระ
โปรดชาวเทพที่มาขอฟังธรรม..
เวลาท่านพักอยู่ภาคอีสานบาง จังหวัด ขณะท่านแสดงธรรมอบรมพระตอนด ึก ๆ หน่อย ในบางคืนซึ่งเป็นกรณีพิเศษ ท่านยังสามารถทราบและมองเห็ นพวกรุกขเทวดาที่พากันมาแอบ ฟังท่านอยู่ห่าง ๆ เพราะพวกเทพฯ ทั้งเบื้องบนเบื้องล่าง มีความเคารพพระมาก
ท่านเล่าว่า เวลาพวกเทพฯ ชั้นบนลงมาจากชั้นต่าง ๆ มาฟังธรรมท่านในยามดึกสงัด จะไม่มาทางที่มีพระพักอยู่ แต่จะมาตามทางที่ว่างจากพระ และพร้อมกันทำประทักษิณส...ามรอบขณะที่มาถึง แล้วนั่งอย่างเป็นระเบียบเร ียบร้อย เสร็จแล้วหัวหน้ากล่าวคำราย งานตัวที่พาพวกเทพฯ มาจากที่นั้น ๆ ประสงค์อยากฟังธรรมนั้น ๆ ท่านก็เริ่มทักทายพอสมควร แล้วเริ่มกำหนดจิตเพื่อธรรม ที่สมควรจะแสดงแก่ชาวเทพฯ จะผุดขึ้นมา จากนั้นก็เริ่มแสดงให้ชาวเท พฯ ฟังจนเป็นที่เข้าใจ จบแล้วชาวเทพฯ พร้อมกันสาธุการสามครั้งเสี ยงลั่นโลกธาตุ สำหรับผู้มีหูทิพย์ได้ยินทั ่วกัน ส่วนหูกระทะหูหม้อต้มหม้อแก งไม่มีทางทราบได้ตลอดไป
พอจบการแสดงธรรมแล้ว ชาวเทพฯ พร้อมกันทำประทักษิณสามรอบ แล้วลาท่านกลับอย่างมีระเบี ยบสวยงาม ผิดกับชาวมนุษย์เราอยู่มาก แม้ผู้เป็นพระและผู้เป็นอาจ ารย์พวกชาวเทพฯ ก็ไม่สามารถทำได้อย่างสวยงา มเหมือนเขา เพราะความหยาบความละเอียดแห ่งเครื่องมือคือกายต่างกันก ับเขามาก พอออกไปพ้นเขตวัดหรือที่พัก แล้ว ชาวเทพฯ เหล่านั้นพากันเหาะลอยขึ้นส ู่อากาศเหมือนปุยนุ่นหรือสำ ลีเหาะปลิวขึ้นบนอากาศฉะนั้ น
เวลาที่ชาวเทพฯ มาก็เช่นกัน พากันเหาะลอยมาลงนอกบริเวณท ี่พัก แล้วเดินเข้ามาด้วยความเคาร พอย่างมีระเบียบสวยงามมากแล ะมิได้พูดคุยกันอึกทึกครึกโ ครมเหมือนชาวมนุษย์เราเข้าไ ปหาอาจารย์ที่ถือว่าเป็นที่ เคารพนับถือ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะพวกเทพฯ เป็นกายทิพย์ จะพูดอย่างมนุษย์จึงขัดข้อง ข้อนี้พวกเทพฯ ต้องยอมแพ้มนุษย์ที่พูดเสีย งดังกว่า มนุษย์จึงได้เปรียบพวกเทพฯ ตรงนี้เอง
พวกเทพฯ ขณะฟังเทศน์มีความสำรวมดีมา ก ไม่ส่ายโน่นส่ายนี่ ไม่แสดงทิฐิมานะออกมาให้กระ ทบจิตใจของผู้จะให้อรรถให้ธ รรม ตามปกติก่อนหน้าพวกเทพฯ จะมาฟังเทศน์ ท่านเคยทราบไว้ก่อนเสมอ เช่น เขาจะมาในราวที่สุดของสองยา ม คือ ๖ ทุ่ม พอตกตอนเย็นท่านทราบไว้ก่อน แล้ว บางวันท่านคิดว่าจะมีการประ ชุมพระตอนเย็นก็ต้องสั่งงดใ นคืนวันนั้น พอขึ้นจากทางจงกรมแล้ว ท่านเริ่มเข้าที่ทำสมาธิภาว นา พอจวนเวลาพวกเทพฯ จะมาถึง ท่านเริ่มถอยจิตออกมา รออยู่ขั้นอุปจารสมาธิและส่ งกระแสจิตออกไปดู ถ้ายังไม่เห็นมา ท่านก็เข้าสมาธิอีก พักอยู่พอสมควรแล้วถอยจิตออ กมาอีก บางครั้งพวกเทพฯ มาถึงก่อนแล้ว บางครั้งกำลังหลั่งไหลเข้าม าในบริเวณที่พัก บางครั้งท่านก็รอคอยอยู่ขั้ นอุปจารสมาธินานพอสมควร จึงเห็นพวกเทพฯ มา
วันไหนที่ทราบว่าเขาจะมาดึก ๆ หน่อย ราวตี ๑ ตี ๒ หรือตี ๓ ก็มีห่าง ๆ วันเช่นนั้นพอทำความเพียรจน ถึงเวลาพอสมควรแล้วท่านก็พั กผ่อนจำวัด ไปตื่นเอาตอนนั้นทีเดียว แล้วเตรียมต้อนรับแขกตามเวล าที่กำหนดไว้ พวกเทพฯ ที่มาฟังเทศน์ท่านเวลาพักอย ู่ทางภาคอีสานไม่ค่อยมีมาบ่ อย ๆ และไม่มีมากนัก ส่วนรายที่มาแอบฟังเทศน์ท่า นอยู่ห่าง ๆ ขณะที่ท่านกำลังอบรมพระนั้น พอทราบท่านก็หยุดการอบรมในเ วลานั้นและสั่งพระให้เลิกปร ะชุม สำหรับองค์ท่านก็รีบเข้าที่ ทำสมาธิภาวนาเพื่อแสดงธรรมใ ห้ชาวเทพฯ ฟังในลำดับต่อไปจนจบ พอพวกเทพฯ กลับไปแล้ว ท่านก็พักจำวัดจนกว่าถึงเวล าอันควร ก็ตื่นทำความเพียรต่อไปตามป กติที่เคยทำมาเป็นประจำ
การต้อนรับชาวเทพฯ เป็นกิจของท่านโดยเฉพาะไม่ใ ห้คลาดเคลื่อนเวลาได้เลย เพราะเขามาตามกำหนดเวลา คำสัตย์เขาถือเป็นสำคัญมาก แม้พระทำให้เคลื่อนโดยไม่มี ความจำเป็นเขาก็ตำหนิติเตีย น พวกเทพฯ เคารพหัวหน้ามาก คอยฟังคำสั่งและปฏิบัติตามด ้วยความสนใจ
พวกนี้ไม่ว่าจะมาจากชั้นบน หรือที่เป็นรุกขเทพฯ มาจากที่ต่าง ๆ ต้องมีหัวหน้าเป็นผู้นำเสมอ การสนทนาระหว่างพวกเทพฯ กับพระใช้ภาษาใจภาษาเดียวเท ่านั้น ไม่มีหลายภาษาเหมือนมนุษย์แ ละสัตว์ชนิดต่าง ๆ กัน เนื้อหาของใจที่คิดขึ้นเพื่ อผู้ตอบนั้นเป็นคำถามของภาษ าใจที่แสดงออกอย่างเต็มเม็ด เต็มหน่วย แล้วผู้ตอบเข้าใจได้ชัดเช่น เดียวกับเราถามกันเป็นประโย คด้วยคำพูดทางวาจา ประโยคที่ผู้ตอบคิดขึ้นแต่ล ะประโยคแต่ละคำเป็นเนื้อหาข องภาษาใจอย่างเต็มที่แล้ว ผู้ถามเข้าใจได้ชัดเจนเช่นเ ดียวกัน ภาษาของใจยิ่งตรงตามความรู้ สึกที่ระบายออกทีเดียว ไม่ต้องแยกแยะหรือขยายเนื้อ ความให้เด่นชัด เหมือนใช้คำพูดทางวาจาเป็นเ ครื่องมือของใจอีกวาระหนึ่ง ซึ่งบางประโยคความรู้สึกทาง ใจกับคำพูดที่จะใช้ให้เหมาะ สมไม่ค่อยตรงกัน จึงทำให้เสียความมุ่งหมายอย ู่บ่อย ๆ
ตราบใดที่ใช้วาจาเป็นสื่อแท นใจอยู่ ความไม่สะดวกย่อมมีอยู่ตราบ นั้น แต่ก็เป็นเรื่องจำเป็นที่คน เราไม่รู้ภาษาใจของกันและกั น จำต้องใช้วาจาเป็นเครื่องมื อของใจอยู่ตลอดไปอย่างแยกไม ่ออก ทั้ง ๆ ที่ไม่สู้จะตรงกับความมุ่งห มายของใจเท่าไรนัก เพราะโลกหากพานิยมใช้กันมาอ ย่างนี้ ไม่มีทางแก้ไขให้เป็นอย่างอ ื่นซึ่งดียิ่งกว่านี้ได้ นอกจากจะรู้ภาษาใจกันเท่านั ้น สิ่งลี้ลับก็กลับเปิดเผยและ ยุติกันไปเอง
ท่านพระอาจารย์มั่นท่านเชี่ ยวชาญทางนี้มาก เครื่องมือท่านก็มีพร้อมในก ารฝึกอบรมคนให้เป็นคนดี ส่วนพวกเราแม้แต่จะคิดขึ้นม าใช้เฉพาะตัว ยังต้องเที่ยวหาหยิบยืมจากผ ู้อื่น คือเที่ยวศึกษาอบรมจากครูอา จารย์ในที่ต่าง ๆ อยู่เป็นประจำ แม้เช่นนั้นก็ยังหลุดไม้หลุ ดมือไปได้ รักษาไว้ไม่อยู่ คือฟังจากท่านแล้วก็หลงลืมไ ปแทบไม่มีอะไรเหลือติดตัว แต่สิ่งที่ไม่ดีอันมีอยู่ดั ้งเดิม คือความผิดพลาดขาดสติปัญญาค วามระลึกรู้ไตร่ตรอง ไม่ยอมหลงลืมและตกไป คงยังสมบูรณ์อยู่ตลอดไป ฉะนั้น จึงมีแต่ความผิดหวัง คือนั่งอยู่ก็ผิดหวัง เดินไปก็ผิดหวัง ยืนอยู่ก็ผิดหวัง นอนอยู่ก็ผิดหวัง อะไร ๆ มีแต่ความผิดหวัง เพราะขาดคุณธรรมดังกล่าวที่ จะทำให้มีหวังในสิ่งที่พึงใ จทั้งหลาย..
เวลาท่านพักอยู่ภาคอีสานบาง
ท่านเล่าว่า เวลาพวกเทพฯ ชั้นบนลงมาจากชั้นต่าง ๆ มาฟังธรรมท่านในยามดึกสงัด จะไม่มาทางที่มีพระพักอยู่ แต่จะมาตามทางที่ว่างจากพระ
พอจบการแสดงธรรมแล้ว ชาวเทพฯ พร้อมกันทำประทักษิณสามรอบ แล้วลาท่านกลับอย่างมีระเบี
เวลาที่ชาวเทพฯ มาก็เช่นกัน พากันเหาะลอยมาลงนอกบริเวณท
พวกเทพฯ ขณะฟังเทศน์มีความสำรวมดีมา
วันไหนที่ทราบว่าเขาจะมาดึก
การต้อนรับชาวเทพฯ เป็นกิจของท่านโดยเฉพาะไม่ใ
พวกนี้ไม่ว่าจะมาจากชั้นบน หรือที่เป็นรุกขเทพฯ มาจากที่ต่าง ๆ ต้องมีหัวหน้าเป็นผู้นำเสมอ
ตราบใดที่ใช้วาจาเป็นสื่อแท
ท่านพระอาจารย์มั่นท่านเชี่