โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด - เพื่อนซี้ “ทักษิณ” ร่วมก๊วน “เทมาเส็ก” แนบแน่น “ปตท.”
แฉโมเดลวิบัติ เขาพระวิหารแลกแหล่งน้ำมันในเขมร
แฉโมเดลวิบัติ เขาพระวิหารแลกแหล่งน้ำมันในเขมร
“เขาพระวิหาร” “แหล่งพลังงาน” “ปตท.” และกลุ่มทุนอดีตนายกฯ “ทักษิณ” กลายเป็นเรื่องเดียวกันอย่างแทบไม่น่าเชื่อ... แต่ก็ต้องเชื่อ เพราะ “พลังงาน” เป็นสิ่งมีค่า เป็น “ขุมทอง” ที่ทักษิณยอมแลกได้ทุกอย่าง แม้ว่าจะทำให้ไทยต้องสูญเสียเขาพระวิหารให้กับเขมร และอาจต้องสูญเสียดินแดนและอธิปไตย ก็เพื่อแลกกับแหล่งพลังงาน ในอ่าวเขมร แหล่งพลังงานที่เหลืออยู่แห่งเดียวในโลก ปริศนานี้กำลังถูกเฉลยออกมาว่า ทำไม ทักษิณ ถึงต้องมีเอี่ยวในปตท. !
ว่าด้วยเรื่องเขาพระวิหารแล้ว “นพดล ปัทมะ” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ อดีตทนายความและโฆษกประจำตัวของ “ทักษิณ” ไปลงนามเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2551 เพื่อยอมรับคำแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชาสนับสนุนให้กัมพูชาจดทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลก จนอาจทำให้ประเทศไทยเสียดินแดน กลายเป็นข้อสงสัยว่าทำเพื่ออะไร
เพราะก่อนลงนามเพียง 1 เดือน พล.อ.เตีย บัน รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กัมพูชา ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนไทยว่า “ทักษิณ” จะลงทุนธุรกิจพลังงาน เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติในกัมพูชา โดยเฉพาะการเช่า เกาะกง ซึ่งมีรีสอร์ตดังอย่าง “สีหนุวิลล์” เป็นจุดขาย หลังจากที่ได้หารือกับสมเด็จฮุนเซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชาเรียบร้อยแล้ว
“พลเอกเตีย บัน” ยังบอกด้วยว่า เรื่องธุรกิจน้ำมันและก๊าซ เป็นเรื่องที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งชาวกัมพูชา ยังคงต้องซื้อน้ำมันในราคาที่แพง และทำให้ค่าครองชีพสูง แต่ทุกคนก็ต้องเผชิญปัญหานี้ต่อไป ตราบใดที่กัมพูชายังไม่สามารถขุดน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมาใช้ได้ในระยะอันใกล้
การเชื่อมโยงโดยข้อสังเกตจาก “อลงกรณ์ พลบุตร” ส.ส.เพชรบุรี พรรคประชาธิปัตย์ ยังระบุถึงเหตุผลความเหมาะสม เมื่อครั้งที่ “สมชาย วงศ์สวัสดิ์” รองนายกรัฐมนตรี น้องเขย “ทักษิณ” ไปร่วมเป็นประธานเปิดถนนสาย 48 ไทย-กัมพูชา ระยะทาง 149 กิโลเมตร ซึ่งเป็นถนนที่ ครม.นายกฯ ทักษิณผ่อนปรนปล่อยกู้ให้กัมพูชาเป็นพิเศษ
แม้ปัจจุบันจะไม่มีหลักฐานจับได้ว่า มรดกโลก “เขาพระวิหาร” เป็นการเซ็นเพื่อ “ทักษิณ” หรือไม่ก็ตาม แต่ปริศนานี้กำลังถูกเฉลยออกมาอย่างช้าๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีการตั้งข้อสังเกตว่า เบื้องหลังเหตุการณ์ครั้งนี้ เพราะ“กัมพูชา” เป็นแหล่งพลังงานที่เหลือเพียงไม่กี่แห่งในโลกที่ยังไม่ได้ถูกขุดเจาะ และพร้อมให้กลุ่มทุนเข้าไปดำเนินงาน ในพื้นที่แถบชายฝั่งและนอกชายฝั่ง ซึ่งจากการบรรยายของ TE DUONG TARA ผู้อำนวยการ Cambodian National Petroleum Authority เมื่อ 18 มกราคม 2006 ระหว่างการประชุมว่าด้วยเรื่องเทคโนโลยีปิโตรเลียม ของอาเซียนครั้งที่ 4 ระบุว่า กัมพูชามีแหล่งก๊าซธรรมชาติและน้ำมัน และมีการผลิตจำนวนมากนอกชายฝั่ง โดยปัจจุบันมีเชฟรอน ได้รับสัมปทานอนุญาตขุดเจาะ และยังมีบริษัทจากไทยคือบริษัท ปตท.สผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) (PTTEPI) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ ปตท. ได้ร่วมทุน 30% กับอีก 2 บริษัท คือ บริษัท Resourceful Petroleum Ltd. และ SPC Cambodia Ltd. อีก 10% เป็นของ CE Cambodia B Ltd.
ปตท.สผ. อินเตอร์เนชั่นแนลได้รับสัมปทานจากรัฐบาลกัมพูชาในการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซนอกชายฝั่ง ในบริเวณอ่าวไทย แต่ยังมีพื้นที่แหล่งนี้ที่กัมพูชาเรียกว่า “บล็อก B” และ ปตท.สผ. ตั้งรหัสว่าโครงการจี 9/43 มีการพบเบื้องต้นว่ามีน้ำมันและก๊าซจำนวนมาก แต่ในหนังสือรายงานประจำปี 2550 ได้ระบุว่าเป็นพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างไทย-กัมพูชา และกำลังแก้ไขปัญหาเรื่องเส้นแบ่งเขตทางทะเล หรือเป็นหนึ่งในพื้นทับซ้อนระหว่างไทยและกัมพูชาอีกพื้นที่หนึ่ง
นี่คือพื้นที่ทับซ้อนที่ยังต้องรอบทสรุป
ที่สำคัญกว่านั้น ทางการกัมพูชายังมีความร่วมมือกับประเทศต่างๆ เพื่อสำรวจและวิจัยแหล่งพลังงานทั้งทางใต้ดิน และดาวเทียม บริเวณพื้นที่ชายฝั่ง และเบื้องต้นว่า บริเวณทะเลสาบ หรือ“โตนเลสาบ” ใจกลางประเทศ ยังมีแนวโน้มของแหล่งน้ำมันดิบ ที่เรียกว่า Permian Carbonates ซึ่งพบทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกเหนือจากแถบชายฝั่งที่มีแหล่งก๊าซอีกหลายแห่ง โดยเฉพาะแถบ “จังหวัดเกาะกง” ของกัมพูชา จังหวัดทะเลชายฝั่งทางตอนใต้ ซึ่งพบแหล่งน้ำมัน
นั่นหมายความว่า เกาะกง กัมพูชา เป็นแหล่งน้ำมันแหล่งใหญ่ของโลกที่ยังคงเหลืออยู่ และยังไม่ได้ถูกขุดเจาะ ย่อมเป็นที่หมายปองของนานาประเทศทั่วโลก รวมทั้งทักษิณและเครือข่าย
“พลเอกเตีย บัน” บิ๊กของกัมพูชา เปิดเผยกับสื่อมวลชนว่า หนึ่งในนายทุนที่ต้องการเข้าไปลงทุนขุดเจาะน้ำมันในกัมพูชา คือ “พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร”
ความหอมหวนของแหล่งพลังงานในกัมพูชาจึงเป็น “ขุมทอง” ขนาดใหญ่ที่ “ทักษิณ” ยอมเดิมพันได้ทุกอย่าง ไม่ว่าสิ่งนั้นจะเป็น “เขาพระวิหาร” มรดกโลกอันมีค่า ทั้งๆ ที่ทักษิณเองก็รู้ดีว่าจะทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียดินแดน และอาจลุกลามกลายเป็นปัญหาระหว่างประเทศ
ผลจากการกระทำของนพดล รัฐมนตรีในสังกัด ก็ได้ถูกชี้ชัดโดยศาลรัฐธรรมนูญ ได้วินิจฉัยคดีแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ขัดรัฐธรรมนูญ มาตรา 180 เพราะเป็นการลงนามโดยผู้มีอำนาจของ 2 ประเทศ มีพันธสัญญาร่วมกัน โดยต้องผ่านสภาเพราะเป็นเรื่องละเอียดอ่อน อาจเกิดความแตกแยกระหว่างประเทศ และสุ่มเสี่ยงต่อผลกระทบเรื่องอาณาเขตของประเทศไทย
รศ.ศรีศักร์ วัลลิโภดม นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ไทย ตั้งข้อสังเกตว่า การตัดสินของคณะกรรมการมรดกโลกขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกของกัมพูชา เป็นการตัดสินที่ขัดต่อ 3 องค์กรประกอบอุดมคติของมรดกโลก เป็นการตัดสินที่ไม่ชอบธรรม และไม่ได้เป็นเครื่องมือสร้างสันติภาพตามเจตนารมณ์ที่แท้จริง แต่กลับทำให้เป็นพื้นที่ท่องเที่ยวทางเศรษฐกิจ ซ่อนเร้นให้กลุ่มข้ามชาติเข้ามาแสวงหาผลประโยชน์
ผลเสียที่ตามมาก็คือ หลังจากขึ้นทะเบียนตัวประสาทเขาวิหารเป็นมรดกโลกแล้ว ถัดจากนั้น จะให้ประเทศต่างๆ มาบริหารจัดการร่วมกัน หากไทยยอมเข้าร่วม เท่ากับว่าเป็นการยกดินแดนไทย และดินแดนทับซ้อน 4.6 ตารางกิโลเมตรให้คณะกรรมการมรดกโลกบริหารจัดการ โดยขั้นตอนต่อไป คณะกรรมการมรดกโลกก็ยกพื้นที่ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของกัมพูชา
ได้มีการตั้งข้อสังเกต การตัดสินของคณะกรรมการมรดกโลกของยูเนสโก ถึงข้อเสนอของกัมพูชานั้น ผ่านหลักเกณฑ์แค่ 1 ใน 3 เท่านั้น คือ สถาปัตยกรรมที่มาจากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ แต่หลักเกณฑ์ทางด้านภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมไม่ผ่าน เพราะขาดความสมบูรณ์ เพราะโบราณสถานที่อยู่ในเขตพื้นที่ทับซ้อนไม่ได้นำมารวม การตัดสินครั้งนี้จึงขาดความน่าเชื่อถือ
ยังมีการตั้งข้อสังเกตอีกว่า การที่คณะกรรมการโลกได้ สนับสนุนกัมพูชาของเหล่าคณะกรรมการโลกครั้งนี้ เป็นเพราะ ทุกประเทศที่อยู่ร่วมในคณะกรรมการมรดกโลก เล็งเห็นขุมทรัพย์บ่อน้ำมันของเขมร ไม่ว่าจะเป็นฝรั่งเศส ที่มีกลุ่มโททิ่ลออยล์ (TOTAL Oil) และจีน ที่มีบริษัท CNOOC บริษัทน้ำมันเข้าไปสำรวจหาก๊าซและน้ำมันดิบในกัมพูชา
การยอมรับเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกของกัมพูชา ยังสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียดินแดน และอธิปไตย เป็น“โดมิโน” ที่ส่งผลกระทบถึง ปัญหา “พื้นที่ทับซ้อน” ระหว่างเขตแดนไทยและกัมพูชา ในหลายจังหวัด เช่น อุบลราชธานี สุรินทร์ บุรีรัมย์ จันทบุรี ตราด เนื่องจากไทยและกัมพูชาใช้แผนที่คนละใบ ไทยนั้นยึด “สันปันน้ำ” ในการวัด โดยใช้มาตราส่วน 1:50,000 ในขณะที่กัมพูชา ใช้มาตราส่วน 1:200,000
หากมีการนำ มาตราวัดของกัมพูชา ซึ่งเป็นไปได้มากมาจัดการกับ ปัญหาพื้นที่ทับซ้อน เหล่านี้ย่อมทำให้ไทยต้องเสียเขตแดน เช่น พื้นที่เกาะกูด จังหวัดตราด ก็เป็นพื้นที่ทับซ้อน หากถ้าใช้มาตราวัดของกัมพูชา เกาะกูดจะกลายเป็นของกัมพูชาไปโดยปริยาย
ต่อให้คนไทยคนไหนที่กินดีหมี สวมหัวใจสิงห์ ก็ยังไม่กล้าถึงเพียงนี้ หากไม่ใช่เพราะผลประโยชน์ เพื่อต้องการเป็นเจ้าของธุรกิจพลังงาน ทักษิณจึงยอมได้ทุกอย่าง
นักธุรกิจระดับชาติอย่างทักษิณ ย่อมรู้ดีว่าธุรกิจพลังงานเป็นธุรกิจแห่งอนาคตที่ทำรายได้ให้มหาศาล หาใช่ธุรกิจโทรศัพท์มือถือ ซึ่งอยู่ในช่วงขาลง ไม่ได้รุ่งเรืองเหมือนในอดีต หรือแม้แต่การซื้อธุรกิจสโมสรทีมฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี้ ก็เพื่อสร้างโปรไฟล์ให้ดูดี ไม่ใช่ธุรกิจที่ทำรายได้งดงามเหมือนกับธุรกิจพลังงาน
ทักษิณได้เตรียมการในเรื่องนี้มานานแล้ว ด้วยการร่วมมือกับ “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เจ้าของห้างแฮร์รอดส์อันโด่งดังในอังกฤษ อัล ฟาเยด ไม่ได้เป็นแค่เจ้าของห้างหรู แต่ยังมีธุรกิจพลังงาน ที่เข้ามาทำร่วมกับ ปตท.สผ. (อ่านล้อมกรอบ)
และนี่คือสาเหตุว่า ทำไมทักษิณจึงต้องพา “อัล ฟาเยด” เดินทางไปดูงานถึงเขมร ซึ่งไม่ใช่การร่วมลงทุนในธุรกิจกาสิโนอย่างที่เป็นข่าว เพราะระบบสาธารณูปโภคในเกาะกงก็ยังไม่พร้อม เกาะกงจึง เป็นเพียงแค่ข่าวบังหน้า เพราะเบื้องหลังก็คือความร่วมมือในการรุกเข้าทำธุรกิจพลังงานในกัมพูชา (อ่านล้อมกรอบ)
และนี่คือ เหตุผลว่า ทำไมทักษิณจึงต้องเป็นเจ้าของ ปตท. ซึ่งมีความพร้อมในเรื่องทั้งขุดเจาะ จัดจำหน่าย ดังนั้นปตท จะเป็นกลไกสำคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจพลังงานในเขมร เป็นจริง โดยมีเครือข่ายธุรกิจพลังงานของ อัล ฟาเยด ร่วมเป็นกองหนุน
ถ้าเลือกได้ เป้าหมายทำสัญญาให้เช่าเกาะกงของทักษิณกับเขมร ที่มีรัฐบาลฮุนเซนเป็นคู่สัญญา หาใช่ทำในนามรัฐต่อรัฐ แต่เป็นการทำในนาม “นิติบุคคล” โดยที่เกาะกงจะได้รับเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งได้รับการยกเว้นภาษี ซึ่งรายได้ไม่ต้องเข้ารัฐบาลกัมพูชา และเป็นเขตปกครองพิเศษ นอกเหนืออธิปไตย
แน่นอนว่าสิ่งที่ทักษิณต้องการมากที่สุดคือ การสร้างระบอบ “การเมือง” ใหม่ เป็นประชาธิปไตยแบบตัวแทน ที่เรียกว่า ระบอบทักษิณ โดยอ้างถึงระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน ที่ใครมีเงินก็เล่นการเมืองได้ (อ่านเรื่อง Kingdom or Republic of Thailand ใน POSITIONING ฉบับ เดือนมิถุนายน 2551 ประกอบ)
อะไรจะเกิดขึ้น หากทักษิณสามารถนำบริษัทเข้าไปลงทุนในเขมร ?
โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด - เพื่อนซี้ “ทักษิณ” ร่วมก๊วน “เทมาเส็ก” แนบแน่น “ปตท.”
เมื่อย้อนกลับไปดูประวัติศาสตร์ขุดเจาะน้ำมันของไทย จะพบว่ามหาเศรษฐีห้างสรรพสินค้าแฮร์รอดส์ (Harrods) โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด (Mohamed Al Fayed) เพื่อนเลิฟของอดีตนายก “ทักษิณ” เข้ามาได้ประโยชน์จากธุรกิจน้ำมันในไทยมานาน ผ่าน ปตท.สผ. บริษัทลูก ปตท. ก่อนที่ปตท. จะเข้าตลาดหุ้นเมื่อปี 2544
โดย Asian Economic News และนิตยสาร Offshore ลงข่าวพร้อมเพรียงกันในช่วงธันวาคม 2542 ว่าหลังจากโมฮัมหมัด อัล ฟาเยดจัดตั้งบริษัท แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ (Harrods Energy) ก็ได้สิทธิสำรวจน้ำมันใน 4 แปลงขุดเจาะในอ่าวไทย คือ B2/38, B11/32, B11/38 และ B12/32. ห่างจากชายฝั่งระยอง 150 กิโลเมตร โดยมีศักยภาพในการขุดเจาะน้ำมันวันละ 8,000 บาร์เรล ซึ่งในการสำรวจขุดเจาะครั้งนั้น Harrods Energy ถือหุ้น 50% ในการลงทุนสำรวจขณะที่ ปตท.สผ. ถือหุ้น 50%ที่เหลือ
โดย Asian Economic News และนิตยสาร Offshore ลงข่าวพร้อมเพรียงกันในช่วงธันวาคม 2542 ว่าหลังจากโมฮัมหมัด อัล ฟาเยดจัดตั้งบริษัท แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ (Harrods Energy) ก็ได้สิทธิสำรวจน้ำมันใน 4 แปลงขุดเจาะในอ่าวไทย คือ B2/38, B11/32, B11/38 และ B12/32. ห่างจากชายฝั่งระยอง 150 กิโลเมตร โดยมีศักยภาพในการขุดเจาะน้ำมันวันละ 8,000 บาร์เรล ซึ่งในการสำรวจขุดเจาะครั้งนั้น Harrods Energy ถือหุ้น 50% ในการลงทุนสำรวจขณะที่ ปตท.สผ. ถือหุ้น 50%ที่เหลือ
จากการสืบค้นข้อมูลของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ พบว่า บริษัท แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ จดทะเบียนในเมืองไทยเมื่อ 22 พฤษภาคม 2541 ใช้ชื่อเป็นทางการว่า แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ (ประเทศไทย) ต่อมาเปลี่ยนชื่อจนไม่เหลือคราบเดิม เป็นเพิร์ล ออย (Pearl Oil) (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในรายชื่อผู้ถือหุ้น) เมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2547 เพราะถูกขายให้กับบริษัท Pearl Energy Pte. Ltd. ที่มีฐานอยู่ในสิงคโปร์ สิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่งคือเมื่อสืบสาวต้นทางจะพบกลุ่มทุนเทมาเส็ก (Temasek) แห่งสิงคโปร์ถือหุ้นบริษัทดังกล่าวผ่านทาง Mubadala Development (ข้อมูลจาก Business Week และ RGE Monitor) ซึ่ง “เทมาเส็ก” มีความสัมพันธ์แนบแน่นกับ “ทักษิณ” และคือบริษัทที่ซื้อหุ้นในชินคอร์ป จากครอบครัว ”ทักษิณ” ด้วยมูลค่ากว่า 73,000 ล้านบาท
Pearl Oil ยังคงได้สัมปทานขุดเจาะน้ำมันอย่างต่อเนื่อง เช่น แปลง B 5/27 ที่แหล่งจัสมิน และ B12/32 ณ แหล่งบุษบงในอ่าวไทย เป็นต้น ส่งต่อน้ำมันดิบให้กับ ปตท.สผ. ภายใต้สัญญาซื้อ-ขาย 20 ปี เช่นเดียวกับเมื่อ 8 ธันวาคม 2549 Pearl Oil ก็ได้สิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียมเพิ่มในแปลง G10/48 บริเวณตอนใต้ของอ่าวไทย เมื่อสมัยนายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
จากข้อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์พบว่ากรรมการของเพิร์ลออย ยังเป็นกรรมการในบริษัทที่เกี่ยวข้องรวม 8 บริษัท แต่ละบริษัทต่างระบุว่าทำธุรกิจรับสัมปทานขุดเจาะน้ำมัน และมีทุนจดทะเบียนบริษัทละ 100 ล้านบาท บางบริษัทมีรายได้ แต่บางบริษัทยังไม่ได้บันทึกรายได้ โดยบริษัทที่มีรายได้สูงสุดคือเพิร์ลออย ประเทศไทย มีรายได้ปี 2549 รวม 7,071 ล้านบาท กำไร 1,654 ล้านบาท กำไรต่อหุ้น 16.54 บาท
บริษัท แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ ประเทศไทย จำกัด เปลี่ยนชื่อเป็น เพิร์ลออย (ประเทศไทย) เมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2547 ทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อาคารไทยพาณิชย์ ปาร์ค พลาซ่า เวสท์ ชั้น 10
ณ วันที่ 30 เมษายน 2550 ปรากฏชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 99.99% คือบริษัทเพิร์ลออยล์ (สยาม) คิดเป็น มูลค่า99,994 ล้านบาท หรือเฉลี่ยราคาหุ้นละ 1,000 บาท ส่วนผู้หุ้นอื่นเป็นบุคคลสัญชาติแคนาดา อินโดนีเซีย 3 คน อังกฤษ 1 คน และอเมริกา 1 คน เพียงคนละ 1 หุ้น เท่านั้น
ข้อมูลกระทรวงพาณิชย์ระบุว่า”เพิร์ลออยล์ (สยาม) จดทะเบียนที่หมู่เกาะเวอร์จิน อังกฤษ ส่วนผู้หุ้นอื่นเป็นบุคคลสัญชาติแคนาดา อินโดนีเซีย 3 คน อังกฤษ 1 คน และอเมริกา 1 คน เพียงคนละ 1 หุ้น เท่านั้น
เครือข่าย”เพิร์ลออย (ประเทศไทย)”
-เพิร์ลออย บางกอก
-เพิร์ลออย ออฟชอร์
-เพิร์ลออย (ปิโตรเลียม)
-เพิร์ลออย (รีซอสเซส)
-เพิร์ลออย (อมตะ)
-เพิร์ลออย ออนชอร์
-เพิร์ลออย (อ่าวไทย)
-เพิร์ลออย บางกอก
-เพิร์ลออย ออฟชอร์
-เพิร์ลออย (ปิโตรเลียม)
-เพิร์ลออย (รีซอสเซส)
-เพิร์ลออย (อมตะ)
-เพิร์ลออย ออนชอร์
-เพิร์ลออย (อ่าวไทย)
Timeline เขาพระวิหาร-แหล่งพลังงาน
“ปราสาทพระวิหาร” “แหล่งน้ำมัน- ก๊าซเขมร” “ทักษิณ” “ปตท.” “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” กลายเป็นเรื่องเดียวกันอย่างแทบไม่น่าเชื่อ ...จนนำมาสู่ “คนไทยจะขายชาติกันเอง” ด้วยการวางแผนอย่างแนบเนียนในช่วง10ปีที่ผ่านมา
22 พฤษภาคม 2541
– “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เจ้าของห้างสรรพสินค้าแฮร์รอดส์ จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทในไทยภายใต้ชื่อ “แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ (ประเทศไทย)” และรับสัมปทานขุดเจาะน้ำมันและก๊าซ ร่วมกับปตท.สผ.
– “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เจ้าของห้างสรรพสินค้าแฮร์รอดส์ จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทในไทยภายใต้ชื่อ “แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ (ประเทศไทย)” และรับสัมปทานขุดเจาะน้ำมันและก๊าซ ร่วมกับปตท.สผ.
ธันวาคม 2542
- แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ เริ่มได้สัมปทานขุดเจาะน้ำมันในอ่าวไทย
- แฮร์รอดส์ เอ็นเนอร์ยี่ เริ่มได้สัมปทานขุดเจาะน้ำมันในอ่าวไทย
กุมภาพันธ์ 2544
– “ทักษิณ ชินวัตร” ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้ง และได้นั่งเก้าอี้นายกรัฐมนตรีสมัยแรก
– “ทักษิณ ชินวัตร” ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้ง และได้นั่งเก้าอี้นายกรัฐมนตรีสมัยแรก
ตุลาคม 2546
- ขณะที่ “ทักษิณ” เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศพร้อมจะซื้อหุ้นสโมสรฟุตบอล “ฟูแล่ม” ซึ่งมี “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เป็นเจ้าของ ขณะที่สถานการณ์การเงินของ “ฟูแล่ม” ขาดทุน และมีหนี้จำนวนมาก
- ขณะที่ “ทักษิณ” เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศพร้อมจะซื้อหุ้นสโมสรฟุตบอล “ฟูแล่ม” ซึ่งมี “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เป็นเจ้าของ ขณะที่สถานการณ์การเงินของ “ฟูแล่ม” ขาดทุน และมีหนี้จำนวนมาก
ปี 2547
- รัฐบาลทักษิณอนุมัติให้เงินกู้กัมพูชาอัตราดอกเบี้ยต่ำ จำนวน 827.4 ล้านบาท เพื่อสร้างถนนผิวทางแอสฟัลต์และสร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กแบบให้เปล่าบนถนนสายนี้อีก 4 แห่ง โดยกรมทางหลวงออกแบบให้ ใช้งบประมาณ 288.2 ล้านบาท
- รัฐบาลทักษิณอนุมัติให้เงินกู้กัมพูชาอัตราดอกเบี้ยต่ำ จำนวน 827.4 ล้านบาท เพื่อสร้างถนนผิวทางแอสฟัลต์และสร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กแบบให้เปล่าบนถนนสายนี้อีก 4 แห่ง โดยกรมทางหลวงออกแบบให้ ใช้งบประมาณ 288.2 ล้านบาท
ตุลาคม 2549
- หลัง “ทักษิณ” ถูกรัฐประหาร “ทักษิณ” ได้ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ที่อังกฤษ และมีข่าวว่าได้แวะพักที่บ้านของนายโมฮัมหมัด อัลฟาเยด เลขที่ 55 Park Lane ทางตะวันตกของกรุงลอนดอน
- หลัง “ทักษิณ” ถูกรัฐประหาร “ทักษิณ” ได้ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ที่อังกฤษ และมีข่าวว่าได้แวะพักที่บ้านของนายโมฮัมหมัด อัลฟาเยด เลขที่ 55 Park Lane ทางตะวันตกของกรุงลอนดอน
ปี 2550
-“ทักษิณ” ซื้อสโมสรแมนเชสเตอร์ซิตี้ ท่ามกลางข่าวลือว่า “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เป็นผู้ประสานงานให้
-“ทักษิณ” ซื้อสโมสรแมนเชสเตอร์ซิตี้ ท่ามกลางข่าวลือว่า “โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด” เป็นผู้ประสานงานให้
14 พฤษภาคม 2551
– มีรายงานข่าวจากสื่อไทย ว่า พล.อ.เตีย บัน รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กัมพูชา ให้สัมภาษณ์ว่า “ทักษิณ” จะลงทุนธุรกิจพลังงาน เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติในกัมพูชา โดยเฉพาะการเช่า เกาะกง ซึ่งมีรีสอร์ตดังอย่าง “สีหนุวิลล์” เป็นจุดขาย หลังจากที่ได้หารือกับสมเด็จฮุนเซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชาเรียบร้อยแล้ว
– มีรายงานข่าวจากสื่อไทย ว่า พล.อ.เตีย บัน รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กัมพูชา ให้สัมภาษณ์ว่า “ทักษิณ” จะลงทุนธุรกิจพลังงาน เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติในกัมพูชา โดยเฉพาะการเช่า เกาะกง ซึ่งมีรีสอร์ตดังอย่าง “สีหนุวิลล์” เป็นจุดขาย หลังจากที่ได้หารือกับสมเด็จฮุนเซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชาเรียบร้อยแล้ว
เว็บไซต์ของ “บางกอกโพสต์” ระบุด้วยว่า เกาะกงซึ่งอยู่ตรงข้ามกับจังหวัดตราดของไทย เป็นเป้าหมายแรกของ “ทักษิณ” ที่จะเข้าไปลงทุนในกัมพูชา ซึ่งจะรวมถึงการทำบ่อนกาสิโน และเอนเตอร์เทนเมนต์ คอมเพล็กซ์ โดยจะเป็นการร่วมทุนกับนักธุรกิจจากตะวันออกกลาง รวมถึงนาย โมฮัมหมัด อัล ฟาเยด มหาเศรษฐีชาวอียิปต์เจ้าของห้างแฮร์รอดส์ในลอนดอน
- “นพดล ปัทมะ” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ “สมชาย วงศ์สวัสดิ์” รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานร่วมกันเปิดถนนหมายเลข 48 ที่จังหวัดเกาะกง-สะแรอัมเบิล เป็นเส้นทางที่ทำให้การเดินทางจากบ้านหาดเล็ก อ.คลองใหญ่ จ.ตราด ของไทย ถึงพนมเปญโดยใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมง
18 มิถุนายน 2551
– “นพดล ปัทมะ” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ อดีตทนายความและโฆษกประจำตัวของ “ทักษิณ” ลงนามยอมรับคำแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา สนับสนุนให้กัมพูชาเสนอจดทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก
– “นพดล ปัทมะ” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ อดีตทนายความและโฆษกประจำตัวของ “ทักษิณ” ลงนามยอมรับคำแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา สนับสนุนให้กัมพูชาเสนอจดทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก
8 กรกฎาคม 2551
- เวลาตี 3 ของเช้าวันอังคารที่ 15 กรกฎาคม 2551 ตามเวลาในประเทศไทย เป็นเวลาที่ชาวกัมพูชาดีใจ และเฉลิมฉลองกันทั่วเมือง เมื่อยูเนสโกมีมติรับข้อเสนอของรัฐบาลกัมพูชาที่เสนอขึ้นทะเบียน “ปราสาทพระวิหาร” เป็นมรดกโลก นาทีเดียวกันนั้นคนไทยต้องรู้สึกหดหู่กับการ “ขายชาติ” ของคนไทยด้วยกันเอง เพียงเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว แลกกับประเทศไทยเสียดินแดนประมาณ 4.6 ตารางกิโลเมตร
- เวลาตี 3 ของเช้าวันอังคารที่ 15 กรกฎาคม 2551 ตามเวลาในประเทศไทย เป็นเวลาที่ชาวกัมพูชาดีใจ และเฉลิมฉลองกันทั่วเมือง เมื่อยูเนสโกมีมติรับข้อเสนอของรัฐบาลกัมพูชาที่เสนอขึ้นทะเบียน “ปราสาทพระวิหาร” เป็นมรดกโลก นาทีเดียวกันนั้นคนไทยต้องรู้สึกหดหู่กับการ “ขายชาติ” ของคนไทยด้วยกันเอง เพียงเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว แลกกับประเทศไทยเสียดินแดนประมาณ 4.6 ตารางกิโลเมตร
แหล่งน้ำมันดิบในกัมพูชา
จำนวนบ่อน้ำมัน ขุดเจาะสำรวจแล้ว 9 หลุม/บ่อ พบน้ำมันดิบ 5 หลุม/บ่อ ยังไม่ได้สำรวจอีก 10 หลุม/บ่อ
ปริมาณน้ำมันดิบสำรอง 2,000 ล้านบาร์เรล
ปริมาณก๊าซธรรมชาติสำรอง 10 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต
มูลค่าการผลิต (ประมาณการ) 6,000 ล้านดอลลาร์ต่อปี
การสนับสนุนของรัฐ จัดตั้งองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติ (Cambodia National Petroleum Authority) ขึ้นมากำกับดูแล
จำนวนบ่อน้ำมัน ขุดเจาะสำรวจแล้ว 9 หลุม/บ่อ พบน้ำมันดิบ 5 หลุม/บ่อ ยังไม่ได้สำรวจอีก 10 หลุม/บ่อ
ปริมาณน้ำมันดิบสำรอง 2,000 ล้านบาร์เรล
ปริมาณก๊าซธรรมชาติสำรอง 10 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต
มูลค่าการผลิต (ประมาณการ) 6,000 ล้านดอลลาร์ต่อปี
การสนับสนุนของรัฐ จัดตั้งองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติ (Cambodia National Petroleum Authority) ขึ้นมากำกับดูแล
ที่มา – สื่ออุตสาหกรรมออนไลน์เพื่อนักอุตสาหกรรม
โดย โลมาชมพู
ข้อมูลความมั่นคงของชาติ ที่ http://www.facebook.com/media/set/?set=a.302374723141970.70339.161446187234825&type=3
คณะรักษาความสงบแห่งชาติกล่ าวหาว่า บนหน้าปกหนังสือ และในหน้า 4 ซึ่งมีข้อความว่า “ธรรมนูญ “บิ๊กตู่” คสช.พ่อทุกสถาบัน” ซึ่งเป็นข้อความที่เสียดสี และอาจทำให้เกิดความเข้าใจผ ิดได้ว่าหัวหน้ารักษาความสง บแห่งชาติอยู่เหนือ สถาบันเบื้องสูง
คำชี้แจง
กองบรรณาธิการ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ขอช ี้แจงว่า เนื้อหาสาระของข่าวเชิงวิเค ราะห์ที่พาดหัวว่า “ธรรมนูญบิ๊กตู่ คสช.พ่อทุกสถาบัน” เป็นการกล่าวถึงรัฐธรรมนูญแ ห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่ว คราว) พ.ศ.2557 โดยวิพากษ์วิจารณ์ถึงมาตราต ่างๆ ในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ซึ่งให้ อำนาจกับคณะรักษาความสงบแห่ งชาติเป็นอย่างมาก
ยกตัวอย่างเช่น มาตรา 19 วรรค 3 ที่ให้อำนาจ คสช.ปลดนายกรัฐมนตรีได้ หรือมาตรา 42 ที่ให้อำนาจ คสช.ปลดคณะรัฐมนตรีได้เช่นเ ดียวกัน
กระนั้นก็ดี มาตราที่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ให้ ความสำคัญและสนใจมากที่สุดก ็คือ มาตรา 44 ที่ให้อำนาจหัวหน้า คสช.ซึ่งก็คือ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชาอย่างกว้างขวางคื อมีอำนาจเหนือทั้งฝ่ายนิติบ ัญญัติ ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจาร ณ์จากสังคม รวมทั้งสื่อมวลชนในทุกแขนงต ามมามากมาย
อย่างไรก็ตาม ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ขอป ฏิเสธว่า มิได้มีจิตเจตนาที่จะทำให้ส ังคมเข้าใจว่า หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่ง ชาติอยู่เหนือสถาบันเบื้องส ูงแต่ประการใด เนื่องจากมิได้มีเนื้อความส ่วนใดที่เอ่ยถึงสถาบันเบื้อ งสูงเลยแม้แต่น้อย อีกทั้งใน “กราฟิก” ที่ได้นำเสนอประกอบก็ได้แสด งให้เห็นโครงสร้างขององค์กร ตามรัฐธรรมนูญเอาไว้ อย่างชัดเจน ทำให้เป็นไปไม่ได้ที่จะทำให ้สังคมเข้าใจผิดไปว่า หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่ง ชาติอยู่เหนือสถาบันเบื้องส ูง
ที่สำคัญคือ คำว่า พ่อทุกสถาบันนั้นเป็นคำที่ใ ช้กันอย่างแพร่หลายในกลุ่มน ักเรียนอาชีวะมาหลาย สิบปี โดยสามารถพบเห็นข้อความได้ต ามสถานที่สาธารณะต่างๆ เช่น บนกำแพง ผนังห้องน้ำ เป็นต้น และไม่เคยมีใครเคยนึก ประหวัดไปถึงสถาบันเบื้องสู งดังที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติเข้ าใจเลยแม้แต่น้อย
ขณะเดียวกัน ในการทำหน้าที่ของ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ตลอ ดระยะเวลาที่ผ่านมา สังคมก็เป็นที่ประจักษ์แล้ว ว่า ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์และ สื่อในเครือต่อสู้เพื่อปกป้ องสถาบันเบื้องสูงมา อย่างต่อเนื่อง จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะนำกรณี ดังกล่าวไปพาดพิงสถาบันเบื้ องสูง
นอกจากนั้น ส่วนหนึ่งของเนื้อหาก็ยังสน ับสนุนการใช้มาตรา 44 เสียด้วยซ้ำไป ดังที่เขียนเอาไว้ว่า “กระนั้นก็ดี การที่รัฐธรรมนูญฉบับบิ๊กตู ่เขียนเอาไว้เช่นนี้ ถ้าจะว่าไปแล้วก็ต้องบอกว่า เป็นเรื่องที่ดี ใครจะบอกว่ามีอำนาจล้นฟ้า มีอำนาจเหนือทุกสถาบัน หรือที่มีการหยอกล้อกันว่า คสช.พ่อทุกสถาบัน ก็เป็นข้อกล่าวหาที่ไม่ควรจ ะเกิดขึ้น เพราะในเมื่อ คสช.ทำรัฐประหารก็ย่อมหมายค วามว่า คสช.ต้องรับผิดชอบสิ่งที่เก ิดขึ้นนับตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 อยู่แล้ว และยิ่งเมื่อเขียนย้ำเอาไว้ ถึงอำนาจอันเบ็ดเสร็จเด็ดขา ดใน รัฐธรรมนูญ ก็ย่อมเป็นหลักรับประกันได้ ว่า คสช.พร้อมรับผิดชอบทุกสิ่งภ ายใต้รัฐบาลใหม่ที่กำลังจะเ กิดขึ้น ไม่ว่าใครจะเป็นนายกรัฐมนตร ีก็ตาม”
ขณะเดียวกันเพื่อให้การนำเส นอเป็นไปอย่างสมดุลและรอบด้ าน กองบรรณาธิการก็ยังได้นำคำช ี้แจงถึงข้อกล่าวหาต่างๆ ที่ ศ.พิเศษพรเพชร วิชิตชลชัย และดร.วิษณุ เครืองาม ซึ่งเป็นที่ปรึกษาหัวหน้าคณ ะรักษาความสงบแห่งชาติได้อธ ิบายเกี่ยวกับมาตรา 44 เอาไว้อีกด้วย
ด้วยเหตุดังกล่าว กองบรรณาธิการ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง มีความสงสัยในคำเตือนและการ กล่าวโทษของคณะรักษา ความสงบแห่งชาติเป็นอย่างยิ ่ง เนื่องเพราะในความเป็นจริงแ ล้วถ้อยคำในลักษณะเดียวกันน ี้ก็ได้มีการใช้ใน สื่อมวลชนฉบับอื่นด้วยเช่นก ัน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคื อคอลัมน์ “เส้นใต้บรรทัด” ของ “จิตกร บุษบา” ในหนังสือพิมพ์แนวหน้าที่พา ดหัวเอาไว้ว่า “ม.44 = หัวหน้า คสช. พ่อทุกสถาบัน?”
คำถามก็คือ คำสั่งเตือนของ คสช.ตั้งอยู่บนตรรกะเช่นใด และทำไมถึงเลือกเตือนเฉพาะ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์เพี ยงฉบับเดียว
คำชี้แจง
กองบรรณาธิการ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ขอช
ยกตัวอย่างเช่น มาตรา 19 วรรค 3 ที่ให้อำนาจ คสช.ปลดนายกรัฐมนตรีได้ หรือมาตรา 42 ที่ให้อำนาจ คสช.ปลดคณะรัฐมนตรีได้เช่นเ
กระนั้นก็ดี มาตราที่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ให้
อย่างไรก็ตาม ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ขอป
ที่สำคัญคือ คำว่า พ่อทุกสถาบันนั้นเป็นคำที่ใ
ขณะเดียวกัน ในการทำหน้าที่ของ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ตลอ
นอกจากนั้น ส่วนหนึ่งของเนื้อหาก็ยังสน
ขณะเดียวกันเพื่อให้การนำเส
ด้วยเหตุดังกล่าว กองบรรณาธิการ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง
คำถามก็คือ คำสั่งเตือนของ คสช.ตั้งอยู่บนตรรกะเช่นใด และทำไมถึงเลือกเตือนเฉพาะ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์เพี
ข้อ 2
เป็นข้อกล่าวหาในคอลัมน์ “สมการการเมือง” ซึ่งตีพิมพ์ในหน้าที่ 16 โดยเนื้อหาที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็ นว่าเป็นการเสียดสีและมีข้อ ความอันเป็นเท็จก็คือ ข้อความที่ว่า “ส่วนคนที่ได้รับอำนาจตรงใน การเลือกสรรเครื่องสุขภัณฑ์ นั้น ไม่ใช่ “บิ๊ก คสช.” อย่างที่เข้าใจกัน แต่เป็นทายาทของ “บิ๊ก คสช.” รายหนึ่ง ซึ่งมีชื่อเล่นว่า “น้องตาล” ฟังผิวเผินชื่อ “ตาล” คล้ายกับชื่อ “ตู่” ที่มี ต.เต่า เหมือนกัน จนนึกไปว่า “น้องตาล” เป็นลูก “บิ๊กตู่” แต่หากลองคลิกเข้าไปใน “อาจารย์กูเกิล” แล้วคงจะถึงบางอ้อว่า “บิ๊กตู่” มีลูก 2 คน เป็นผู้หญิงทั้ง 2 คน และไม่ได้ชื่อใกล้เคียงกับ “ตาล” เลย แต่ “น้องตาล” กลับเป็นชื่อทายาทของ “บิ๊ก คสช.” ผู้ที่ยังมากบารมี แต่ขอลดบทบาท เพื่อแต่งตัวรอบางสิ่งบางอย ่างที่กำลังจะเกิดขึ้นหรือไ ม่ เพราะอย่าลืมว่า การให้ “ลูกตาล” ซึ่งถือเป็นคนรู้ใจมาเลือกส ิ่งอำนวยความสะดวกใน “ทำเนียบรัฐบาล-ตึกไทยคู่ฟ้ า” อาจจะส่งสัญญาณบางอย่างออกม าให้เห็น “บิ๊ก คสช.” ที่จะมาเป็นนายกรัฐมนตรี อาจจะไม่ใช่ “บิ๊กตู่” อย่างที่คาดเดากัน แต่มี “ตาอยู่” ที่ “บิ๊กตู่” วางใจให้มาสานงานต่อ ก็เป็นได้ซึ่งก็ไม่ใช่ใครที ่ไหน ก็คนกันเองใน คสช.นั่นแล”
คำชี้แจง
เนื้อหาในบทความดังกล่าว โดยเฉพาะในส่วนที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็ นว่ามีข้อความอันเป็นเท็จนั ้น ต้องบอกว่า เป็นกระแสข่าวที่มีการกล่าว ถึงอย่างกว้างขวางในทำเนียบ รัฐบาล มิได้เขียนขึ้นมาอย่างเลื่อ นลอย รวมทั้งเป็นการวิเคราะห์สถา นการณ์ทางการเมืองที่จะเกิด ขึ้นในอนาคตเกี่ยวกับ ผู้ที่จะดำรงตำแหน่งนายกรัฐ มนตรีโดยนำข้อมูลต่างๆ มาประกอบการเขียน
นอกจากนั้น การนำเสนอข้อมูลข้างต้นเป็น เพียงการคาดการณ์เท่านั้น โดยผู้เขียนได้ใช้คำว่า หรือไม่ ใช้คำว่า อาจ ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติของกา รวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเ มือง ไม่ใช่ข้อสรุป เป็นการตั้งคำถามว่าถึงความ เป็นไปได้และความน่าจะเป็น เพราะสุดท้ายอาจจะไม่ได้เป็ นไปตามที่คาดการณ์เอาไว้ก็ไ ด้ และการคาดการณ์ก็ไม่ใช่การใ ช้ข้อมูลอันเป็นเท็จ
ขณะเดียวกัน ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ก็ม ั่นใจว่า การนำเสนอข้อมูลเรื่อง “น้องตาล” ซึ่งเป็นบุตรของบุคคลสำคัญใ นคณะรักษาความสงบแห่งชาติเข ้ามาดูแลและจัดการ เรื่องสุขภัณฑ์ในทำเนียบรัฐ บาลและตึกไทยคู่ฟ้า ไม่ได้เป็นเรื่องที่สร้างคว ามเสื่อมเสียหรือทำให้คณะรั กษาความสงบแห่งชาติ ต้องเสียหายแต่อย่างใด
และที่สำคัญไปกว่านั้นก็คือ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์เชื ่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้อ่านมีวิจารณญาณเพียงพอใ นการตัดสินใจ
เป็นข้อกล่าวหาในคอลัมน์ “สมการการเมือง” ซึ่งตีพิมพ์ในหน้าที่ 16 โดยเนื้อหาที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็
คำชี้แจง
เนื้อหาในบทความดังกล่าว โดยเฉพาะในส่วนที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็
นอกจากนั้น การนำเสนอข้อมูลข้างต้นเป็น
ขณะเดียวกัน ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ก็ม
และที่สำคัญไปกว่านั้นก็คือ
ข้อ 3
เป็นข้อกล่าวหาใน “คอลัมน์ป้อมพระสุเมรุ” ที่ตีพิมพ์ในหน้าที่ 18-19 โดยข้อความที่คณะรักษาความส งบแห่งชาติเห็นว่าเป็นเท็จก ็คือข้อความในหน้า 18 ที่เขียนเอาไว้ว่า “การคัดสรรสมาชิกสภานิติบัญ ญัติแห่งชาติ(สนช.) ว่ามีลักษณะเป็นการต่างตอบแ ทน เอาโควตามาแบ่งเค้ก”
คำชี้แจง
ในประเด็นนี้ จากการตรวจสอบของกองบรรณาธิ การไปยังผู้เขียนบทความและเ นื้อหาทั้งหมดพบว่า เป็นการรายงานตามข้อเท็จจริง เนื่องเพราะในระหว่างที่เขี ยนบทความนี้มีข้อมูลแพร่สะพ ัดตามสื่อต่างๆ ทุกสาขาเกี่ยวกับเรื่องผู้ท ี่จะได้รับคัดเลือกมาเป็น สนช. ซึ่งรายงานตรงกันว่า มีข้าราชการทหารได้รับการคั ดเลือกเข้ามาเป็น สนช.เป็นจำนวนมาก ขณะที่ผู้ที่รับเลือกจากสาข าอื่นๆ เช่น นักธุรกิจ นักวิชาการ ข้าราชการประจำ อดีตข้าราชการประจำ คณะรักษาความสงบแห่งชาติก็ม ิอาจปฏิเสธได้ว่า เป็นการจัดสรรตำแหน่งให้กับ บุคคลที่ทำงานให้คณะรักษาคว ามสงบแห่งชาติหรือ บุคคลที่ใกล้ชิดกับคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ
ทั้งนี้ กรณีดังกล่าวก็มิใช่เรื่องแ ปลกอะไร เพราะเป็นสิทธิอันชอบธรรมที ่คณะรักษาความสงบแห่งชาติสา มารถกระทำได้ แต่สื่อมวลชนก็มีสิทธิที่จะ ติติงและท้วงติงโดยสุจริตใจ ได้เพื่อผลประโยชน์ ของประเทศชาติและประชาชนเป็ นสำคัญ
นอกจากนั้น ในกรณีเดียวกันนี้ มิได้มีเพียงแค่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ที่ วิพากษ์วิจารณ์ หากแต่สื่อมวลชนฉบับอื่นๆ ก็ตั้งข้อสังเกตไปในทำนองเด ียวกัน ซึ่งก็ถือเป็นเรื่องปกติตาม จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชี พที่จะต้องมีการตรวจ สอบการทำงานขององค์กร ตลอดรวมถึงหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ ของประเทศ
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ “หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์” ฉบับวันพุธที่ 30 กรกฎาคม 2557 ที่พาดหัวตัวใหญ่เอาไว้ว่า “เหล่าทัพแบ่งเค้ก สนช. ประจินเผย “ทอ.” ได้โควตา 20 คน/ รัฐสภาแต่งห้องรอ” ซึ่งก็ระบุชัดเจนว่าการแต่งตั้ง สนช.มีการแบ่งเค้กและใช้ระบ บโควตาในการจัดสรรตำแหน่ง
เช่นเดียวกับหนังสือพิมพ์ “คมชัดลึก” ฉบับวันพุธที่ 30 กรกฎาคม 2557 ที่พาดหัวเอาไว้ว่า “ทอ.20 ที่นั่ง สนช.” พร้อมโปรยข่าวเอาไว้ด้วยว่า “ประจิน” เผยทัพฟ้าได้โควตา สนช.20 ที่นั่ง
นอกจากนี้ พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง ผู้บัญชาการทหารอากาศ ในฐานะรองหัวหน้าคณะรักษาคว ามสงบแห่งชาติ(คสช.)ยังได้ใ ห้สัมภาษณ์เอาไว้ ชัดเจน ซึ่งหนังสือพิมพ์ทั้ง 2 ฉบับลงข้อความเอาไว้ตรงกัน กล่าวคือเมื่อผู้สื่อข่าวถา มกรณี สนช.จำนวน 220 จะมีการแบ่งโควตากันอย่างไร ว่า “ในส่วนเหล่าทัพอื่น ผมไม่ทราบ แต่ในส่วนกองทัพอากาศได้โคว ตา 20 คนและได้ส่งรายชื่อไปแล้ว และได้ผ่านการพิจารณาจากหัว หน้า คสช.แล้ว 10 คน ส่วนชุดที่สองอีก 10 คนจะได้หรือไม่ยังไม่ทราบ ....แต่ละเหล่าทัพจะได้โควต าเท่าไหร่นั้นผมไม่ทราบ …ส่วนโควตาคนนอกนั้น หัวหน้า คสช.เป็นผู้ดูแล”
ดังนั้น การนำเสนอข่าวสารของ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง มิได้เป็นการนำเสนอข้อมูลอั นเป็นเท็จ และมิได้มีเจตนาไม่สุจริตเพ ื่อทำลายความน่าเชื่อถือของ คณะรักษาความสงบแห่ง ชาติแต่ประการใด
อย่างไรก็ตาม เมื่อคณะรักษาความสงบแห่งชา ติ(คสช.) เห็นว่าการกระทำดังกล่าวของ หนังสือพิมพ์ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์มีเ จตนาไม่สุจริตเพื่อทำลายควา มน่าเชื่อถือของคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ ถือว่าเป็นการฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามประกาศคณะรักษ าความสงบแห่งชาติฉบับที่ 97/ 2557 ลงวันที่ 18 กรกฎาคม 2557 เรื่องการให้ความร่วมมือต่อการป ฏิบัติงานของคณะรักษาความสง บแห่งชาติ และการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ต่อสาธารณะ และประกาศคณะรักษาความสงบแห ่งชาติฉบับที่ 103/ 2557 เรื่องแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะรั กษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 97/ 2557 ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ขอน้อมร ับคำตักเตือนและคำท้วงติงขอ งคณะรักษาความสงบ แห่งชาติด้วยความยินดี
กระนั้นก็ดี เมื่อได้พิจารณาจากคำสั่งขอ ง คสช.ฉบับที่ 108/ 2557 จะเห็นได้ว่า คณะรักษาความสงบแห่งชาติมีบทสรุป ชี้นำเป็นที่เรียบร้อยแล้วว ่า ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ตีพ ิมพ์ข้อความหลายเรื่องด้วยข ้อมูลอันเป็นเท็จโดย มีเจตนาไม่สุจริต เพื่อทำลายความน่าเชื่อถือข อง คสช. ซึ่งจะส่งผลให้สภาการหนังสื อพิมพ์แห่งชาติอันเป็นองค์ก รที่ทำหน้าที่ดูแลผู้ ประกอบวิชาชีพสื่อสารมวลชนต ามธรรมนูญสภาการหนังสือพิมพ ์แห่งชาติ พ.ศ.2540 ต้องประสบกับความยุ่งยากและ ลำบากในการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งๆ ที่ คสช.ได้ออกประกาศฉบับที่ 103/2557 เพื่อแก้ไขประกาศฉบับที่ 97/ 2557 โดยให้อำนาจสภาการหนังสือพิมพ์แ ห่งชาติเป็นผู้ตรวจสอบและดำ เนินการพิจารณา ด้วยตัวเอง
ดังจะเห็นได้จากการที่ประธา นสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาต ิได้ออกมาเรียกร้อง ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ แจ้งประเด็นข้อกล่าวหาให้ชั ดเจน ทั้งๆ ที่ในสถานการณ์ปกติ สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ มีกระบวนการตรวจสอบการทำงาน ของสมาชิกหากพบการ กระทำผิดอยู่แล้ว
นั่นย่อมแสดงให้เห็นว่า เนื้อหาที่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์นำเ สนอไม่ได้เป็นเรื่องที่ผิดจ ริยธรรมสื่อ หากแต่เป็นเรื่องที่คณะรักษ าความสงบแห่งชาติมีทัศนคติต ่อ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ซึ่ งอยู่นอกเหนือกระบวนการตรวจ สอบปกติ
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง ไม่ต้องการให้สภาการหนังสือ พิมพ์แห่งชาติต้องมา แบกรับแรงกดดันจากคณะรักษาค วามสงบแห่งชาติในการทำหน้าท ี่ที่นอกเหนือจากกรอบ การทำงานที่มีอยู่เดิม ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อสภาการหน ังสือพิมพ์แห่งชาติในการคงไ ว้ซึ่งการเป็นองค์กร ที่ต้องการความเป็นอิสระ
ดังนั้น ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง ตัดสินใจที่จะหยุดการพิมพ์เ พื่อยุติปัญหาทั้งมวล
อย่างไรก็ดี ด้วยพันธะความรับผิดชอบต่อส ังคม หลังจากหยุดตีพิมพ์เป็นเวลา 1 เดือน ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จะก ลับมาทำหน้าที่สื่อที่ตรวจส อบองค์กรผู้มีอำนาจ ทุกองค์กรเพื่อผลประโยชน์ขอ งประเทศชาติและประชาชน ตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพอีก ครั้ง
เป็นข้อกล่าวหาใน “คอลัมน์ป้อมพระสุเมรุ” ที่ตีพิมพ์ในหน้าที่ 18-19 โดยข้อความที่คณะรักษาความส
คำชี้แจง
ในประเด็นนี้ จากการตรวจสอบของกองบรรณาธิ
ทั้งนี้ กรณีดังกล่าวก็มิใช่เรื่องแ
นอกจากนั้น ในกรณีเดียวกันนี้ มิได้มีเพียงแค่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ที่
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ “หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์” ฉบับวันพุธที่ 30 กรกฎาคม 2557 ที่พาดหัวตัวใหญ่เอาไว้ว่า “เหล่าทัพแบ่งเค้ก สนช. ประจินเผย “ทอ.” ได้โควตา 20 คน/
เช่นเดียวกับหนังสือพิมพ์ “คมชัดลึก” ฉบับวันพุธที่ 30 กรกฎาคม 2557 ที่พาดหัวเอาไว้ว่า “ทอ.20 ที่นั่ง สนช.” พร้อมโปรยข่าวเอาไว้ด้วยว่า
นอกจากนี้ พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง ผู้บัญชาการทหารอากาศ ในฐานะรองหัวหน้าคณะรักษาคว
ดังนั้น การนำเสนอข่าวสารของ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง
อย่างไรก็ตาม เมื่อคณะรักษาความสงบแห่งชา
กระนั้นก็ดี เมื่อได้พิจารณาจากคำสั่งขอ
ดังจะเห็นได้จากการที่ประธา
นั่นย่อมแสดงให้เห็นว่า เนื้อหาที่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์นำเ
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง
ดังนั้น ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง
อย่างไรก็ดี ด้วยพันธะความรับผิดชอบต่อส
"จากการตรวจสอบของกองบรรณาธ ิการไปยังผู้เขียนบทความและ เนื้อหาทั้งหมดพบว่า เป็นการรายงานตามข้อเท็จจริ ง เนื่องเพราะในระหว่างที่เขี ยนบทความนี้มีข้อมูลแพร่สะพ ัดตามสื่อต่างๆ ทุกสาขาเกี่ยวกับเรื่องผู้ท ี่จะได้รับคัดเลือกมาเป็น สนช. ซึ่งรายงานตรงกันว่า มีข้าราชการทหารได้รับการคั ดเลือกเข้ามาเป็น สนช.เป็นจำนวนมาก..."
1ascor
วันที่ 2 สิงหาคม 2557 เว็บไซต์ASTVผู้จัดการออนไล น์ เปิดเผยคำชี้แจงอย่างเป็นทา งการ ต่อกรณีที่คณะรักษาความสงบแ ห่งชาติ(คสช.) มีประกาศคำสั่งฉบับที่ 108/ 2557 เรื่องการตักเตือนสื่อสิ่งพิมพ์ซ ึ่งฝ่าฝืนข้อห้าม โดย คสช.ระบุว่า หนังสือพิมพ์ผู้จัดการสุดสั ปดาห์ ฉบับที่ 251 วันที่ 26 ก.ค. - 1 ส.ค. 2557 ตี พิมพ์ข้อความหลายเรื่องด้วย ข้อมูลอันเป็นเท็จโดยมีเจตน าไม่สุจริต เพื่อทำลายความน่าเชื่อถือข อง คสช. จากนั้น คสช.ส่งหนังสือร้องเรียนอย่ างเป็นทางการให้กับนายจักร์ กฤษ เพิ่มพูล นายกสภาการหนังสือพิมพ์แห่ง ชาติ หนังสือที่ คสช (สลธ) 1.10/ 55 ลงวันที่ 28 กรกฎาคม 2557 ลงนามโดย พล.อ.อุดมเดช สีตบุตร รองผู้บัญชาการทหารบก ในฐานะเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห ่งชาติ เพื่อร้องเรียนมายังสภาการห นังสือพิมพ์ให้สอบสวนทางจริ ยธรรมแห่งการประกอบวิชาชีพ โดยข้อกล่าวหาของ คสช.มี 3 ประเด็น คือ 1.กรณีคำพาดหัวข่าว “คสช.พ่อทุกสถาบัน 2.กรณีเรื่อง “น้องตาล” ในคอลัมน์สมการการเมือง 3.กรณีการแต่งตั้งสภานิติบั ญญัติแห่งชาติ
คำชี้แจงจาก ASTV ผู้จัดการสุดสัปดาห์ ใน 3 ประเด็นดังกล่าว มีรายละเอียดดังนี้
ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์
ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งช าติ(คสช.) โดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก ใน ฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ(คสช.) ได้ลงนามในประกาศคำสั่งฉบับ ที่ 108/ 2557 เรื่องการตักเตือนสื่อสิ่งพิมพ์ซ ึ่งฝ่าฝืนข้อห้าม โดย คสช.ระบุว่า หนังสือพิมพ์ผู้จัดการสุดสั ปดาห์ ฉบับที่ 251 วันที่ 26 ก.ค. - 1 ส.ค. 2557 ตีพิมพ์ข้อความหลายเรื่องด้ วยข้อมูลอันเป็นเท็จโดยมีเจ ตนาไม่สุจริต เพื่อทำลายความน่าเชื่อถือข อง คสช. ถือว่าเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามประกาศของ คสช. โดยในชั้นนี้เห็นสมควรตักเต ือนผู้เขียนบทความ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา ของหนังสือพิมพ์ดังกล่าว หากฝ่าฝืนอีกจะดำเนินการตาม กฎอัยการศึก ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วั นที่ 20 พ.ค. 2557 เป็นต้นมา และส่งให้พนักงานเจ้าหน้าที ่ดำเนินการตามกฎหมายด้วย นอกจากนี้ยังสั่งให้องค์กรว ิชาชีพที่ผู้ฝ่าฝืนดังกล่าว ข้างต้นเป็นสมาชิก ดำเนินการสอบสวนทางจริยธรรม แห่งการประกอบวิชาชีพต่อบุค คลเหล่านั้น แล้วรายงานผลการดำเนินการให ้ คสช.ทราบโดยเร็วนั้น
ขณะนี้ กองบรรณาธิการ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ ได้รับทราบรายละเอียดคำสั่ง ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ตามหนังสือที่ คสช (สลธ) 1.10/ 55 ลงวันที่ 28 กรกฎาคม 2557 ซึ่งลงนามโดย พล.อ.อุดมเดช สีตบุตร รองผู้บัญชาการทหารบก ในฐานะเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห ่งชาติ
ทั้งนี้ จากการตรวจสอบรายละเอียดพบว ่า คณะรักษาความสงบแห่งชาติมีป ระเด็นที่ติดใจในเนื้อหาของ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ 3 ประเด็นด้วยกัน ซึ่ง ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ขอแ ก้ข้อร้องเรียนในแต่ละข้อกล ่าวหาต่อสภาการ หนังสือพิมพ์แห่งชาติตามกระ บวนการสอบสวนทางจริยธรรมแห่ งการประกอบวิชาชีพ ผ่านไปยังคณะรักษาความสงบแห ่งชาติ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1
คณะรักษาความสงบแห่งชาติกล่ าวหาว่า บนหน้าปกหนังสือ และในหน้า 4 ซึ่งมีข้อความว่า “ธรรมนูญ “บิ๊กตู่” คสช.พ่อทุกสถาบัน” ซึ่งเป็นข้อความที่เสียดสี และอาจทำให้เกิดความเข้าใจผ ิดได้ว่าหัวหน้ารักษาความสง บแห่งชาติอยู่เหนือ สถาบันเบื้องสูง
คำชี้แจง
กองบรรณาธิการ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ขอช ี้แจงว่า เนื้อหาสาระของข่าวเชิงวิเค ราะห์ที่พาดหัวว่า “ธรรมนูญบิ๊กตู่ คสช.พ่อทุกสถาบัน” เป็นการกล่าวถึงรัฐธรรมนูญแ ห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่ว คราว) พ.ศ.2557 โดยวิพากษ์วิจารณ์ถึงมาตราต ่างๆ ในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ซึ่งให้ อำนาจกับคณะรักษาความสงบแห่ งชาติเป็นอย่างมาก
ยกตัวอย่างเช่น มาตรา 19 วรรค 3 ที่ให้อำนาจ คสช.ปลดนายกรัฐมนตรีได้ หรือมาตรา 42 ที่ให้อำนาจ คสช.ปลดคณะรัฐมนตรีได้เช่นเ ดียวกัน
กระนั้นก็ดี มาตราที่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ให้ ความสำคัญและสนใจมากที่สุดก ็คือ มาตรา 44 ที่ให้อำนาจหัวหน้า คสช.ซึ่งก็คือ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชาอย่างกว้างขวางคื อมีอำนาจเหนือทั้งฝ่ายนิติบ ัญญัติ ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจาร ณ์จากสังคม รวมทั้งสื่อมวลชนในทุกแขนงต ามมามากมาย
อย่างไรก็ตาม ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ขอป ฏิเสธว่า มิได้มีจิตเจตนาที่จะทำให้ส ังคมเข้าใจว่า หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่ง ชาติอยู่เหนือสถาบันเบื้องส ูงแต่ประการใด เนื่องจากมิได้มีเนื้อความส ่วนใดที่เอ่ยถึงสถาบันเบื้อ งสูงเลยแม้แต่น้อย อีกทั้งใน “กราฟิก” ที่ได้นำเสนอประกอบก็ได้แสด งให้เห็นโครงสร้างขององค์กร ตามรัฐธรรมนูญเอาไว้ อย่างชัดเจน ทำให้เป็นไปไม่ได้ที่จะทำให ้สังคมเข้าใจผิดไปว่า หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่ง ชาติอยู่เหนือสถาบันเบื้องส ูง
ที่สำคัญคือ คำว่า พ่อทุกสถาบันนั้นเป็นคำที่ใ ช้กันอย่างแพร่หลายในกลุ่มน ักเรียนอาชีวะมาหลาย สิบปี โดยสามารถพบเห็นข้อความได้ต ามสถานที่สาธารณะต่างๆ เช่น บนกำแพง ผนังห้องน้ำ เป็นต้น และไม่เคยมีใครเคยนึก ประหวัดไปถึงสถาบันเบื้องสู งดังที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติเข้ าใจเลยแม้แต่น้อย
ขณะเดียวกัน ในการทำหน้าที่ของ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ตลอ ดระยะเวลาที่ผ่านมา สังคมก็เป็นที่ประจักษ์แล้ว ว่า ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์และ สื่อในเครือต่อสู้เพื่อปกป้ องสถาบันเบื้องสูงมา อย่างต่อเนื่อง จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะนำกรณี ดังกล่าวไปพาดพิงสถาบันเบื้ องสูง
นอกจากนั้น ส่วนหนึ่งของเนื้อหาก็ยังสน ับสนุนการใช้มาตรา 44 เสียด้วยซ้ำไป ดังที่เขียนเอาไว้ว่า “กระนั้นก็ดี การที่รัฐธรรมนูญฉบับบิ๊กตู ่เขียนเอาไว้เช่นนี้ ถ้าจะว่าไปแล้วก็ต้องบอกว่า เป็นเรื่องที่ดี ใครจะบอกว่ามีอำนาจล้นฟ้า มีอำนาจเหนือทุกสถาบัน หรือที่มีการหยอกล้อกันว่า คสช.พ่อทุกสถาบัน ก็เป็นข้อกล่าวหาที่ไม่ควรจ ะเกิดขึ้น เพราะในเมื่อ คสช.ทำรัฐประหารก็ย่อมหมายค วามว่า คสช.ต้องรับผิดชอบสิ่งที่เก ิดขึ้นนับตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 อยู่แล้ว และยิ่งเมื่อเขียนย้ำเอาไว้ ถึงอำนาจอันเบ็ดเสร็จเด็ดขา ดใน รัฐธรรมนูญ ก็ย่อมเป็นหลักรับประกันได้ ว่า คสช.พร้อมรับผิดชอบทุกสิ่งภ ายใต้รัฐบาลใหม่ที่กำลังจะเ กิดขึ้น ไม่ว่าใครจะเป็นนายกรัฐมนตร ีก็ตาม”
ขณะเดียวกันเพื่อให้การนำเส นอเป็นไปอย่างสมดุลและรอบด้ าน กองบรรณาธิการก็ยังได้นำคำช ี้แจงถึงข้อกล่าวหาต่างๆ ที่ ศ.พิเศษพรเพชร วิชิตชลชัย และดร.วิษณุ เครืองาม ซึ่งเป็นที่ปรึกษาหัวหน้าคณ ะรักษาความสงบแห่งชาติได้อธ ิบายเกี่ยวกับมาตรา 44 เอาไว้อีกด้วย
ด้วยเหตุดังกล่าว กองบรรณาธิการ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง มีความสงสัยในคำเตือนและการ กล่าวโทษของคณะรักษา ความสงบแห่งชาติเป็นอย่างยิ ่ง เนื่องเพราะในความเป็นจริงแ ล้วถ้อยคำในลักษณะเดียวกันน ี้ก็ได้มีการใช้ใน สื่อมวลชนฉบับอื่นด้วยเช่นก ัน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคื อคอลัมน์ “เส้นใต้บรรทัด” ของ “จิตกร บุษบา” ในหนังสือพิมพ์แนวหน้าที่พา ดหัวเอาไว้ว่า “ม.44 = หัวหน้า คสช. พ่อทุกสถาบัน?”
คำถามก็คือ คำสั่งเตือนของ คสช.ตั้งอยู่บนตรรกะเช่นใด และทำไมถึงเลือกเตือนเฉพาะ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์เพี ยงฉบับเดียว
ข้อ 2
เป็นข้อกล่าวหาในคอลัมน์ “สมการการเมือง” ซึ่งตีพิมพ์ในหน้าที่ 16 โดยเนื้อหาที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็ นว่าเป็นการเสียดสีและมีข้อ ความอันเป็นเท็จก็คือ ข้อความที่ว่า “ส่วนคนที่ได้รับอำนาจตรงใน การเลือกสรรเครื่องสุขภัณฑ์ นั้น ไม่ใช่ “บิ๊ก คสช.” อย่างที่เข้าใจกัน แต่เป็นทายาทของ “บิ๊ก คสช.” รายหนึ่ง ซึ่งมีชื่อเล่นว่า “น้องตาล” ฟังผิวเผินชื่อ “ตาล” คล้ายกับชื่อ “ตู่” ที่มี ต.เต่า เหมือนกัน จนนึกไปว่า “น้องตาล” เป็นลูก “บิ๊กตู่” แต่หากลองคลิกเข้าไปใน “อาจารย์กูเกิล” แล้วคงจะถึงบางอ้อว่า “บิ๊กตู่” มีลูก 2 คน เป็นผู้หญิงทั้ง 2 คน และไม่ได้ชื่อใกล้เคียงกับ “ตาล” เลย แต่ “น้องตาล” กลับเป็นชื่อทายาทของ “บิ๊ก คสช.” ผู้ที่ยังมากบารมี แต่ขอลดบทบาท เพื่อแต่งตัวรอบางสิ่งบางอย ่างที่กำลังจะเกิดขึ้นหรือไ ม่ เพราะอย่าลืมว่า การให้ “ลูกตาล” ซึ่งถือเป็นคนรู้ใจมาเลือกส ิ่งอำนวยความสะดวกใน “ทำเนียบรัฐบาล-ตึกไทยคู่ฟ้ า” อาจจะส่งสัญญาณบางอย่างออกม าให้เห็น “บิ๊ก คสช.” ที่จะมาเป็นนายกรัฐมนตรี อาจจะไม่ใช่ “บิ๊กตู่” อย่างที่คาดเดากัน แต่มี “ตาอยู่” ที่ “บิ๊กตู่” วางใจให้มาสานงานต่อ ก็เป็นได้ซึ่งก็ไม่ใช่ใครที ่ไหน ก็คนกันเองใน คสช.นั่นแล”
คำชี้แจง
เนื้อหาในบทความดังกล่าว โดยเฉพาะในส่วนที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็ นว่ามีข้อความอันเป็นเท็จนั ้น ต้องบอกว่า เป็นกระแสข่าวที่มีการกล่าว ถึงอย่างกว้างขวางในทำเนียบ รัฐบาล มิได้เขียนขึ้นมาอย่างเลื่อ นลอย รวมทั้งเป็นการวิเคราะห์สถา นการณ์ทางการเมืองที่จะเกิด ขึ้นในอนาคตเกี่ยวกับ ผู้ที่จะดำรงตำแหน่งนายกรัฐ มนตรีโดยนำข้อมูลต่างๆ มาประกอบการเขียน
นอกจากนั้น การนำเสนอข้อมูลข้างต้นเป็น เพียงการคาดการณ์เท่านั้น โดยผู้เขียนได้ใช้คำว่า หรือไม่ ใช้คำว่า อาจ ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติของกา รวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเ มือง ไม่ใช่ข้อสรุป เป็นการตั้งคำถามว่าถึงความ เป็นไปได้และความน่าจะเป็น เพราะสุดท้ายอาจจะไม่ได้เป็ นไปตามที่คาดการณ์เอาไว้ก็ไ ด้ และการคาดการณ์ก็ไม่ใช่การใ ช้ข้อมูลอันเป็นเท็จ
ขณะเดียวกัน ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ก็ม ั่นใจว่า การนำเสนอข้อมูลเรื่อง “น้องตาล” ซึ่งเป็นบุตรของบุคคลสำคัญใ นคณะรักษาความสงบแห่งชาติเข ้ามาดูแลและจัดการ เรื่องสุขภัณฑ์ในทำเนียบรัฐ บาลและตึกไทยคู่ฟ้า ไม่ได้เป็นเรื่องที่สร้างคว ามเสื่อมเสียหรือทำให้คณะรั กษาความสงบแห่งชาติ ต้องเสียหายแต่อย่างใด
และที่สำคัญไปกว่านั้นก็คือ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์เชื ่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้อ่านมีวิจารณญาณเพียงพอใ นการตัดสินใจ
ข้อ 3
เป็นข้อกล่าวหาใน “คอลัมน์ป้อมพระสุเมรุ” ที่ตีพิมพ์ในหน้าที่ 18-19 โดยข้อความที่คณะรักษาความส งบแห่งชาติเห็นว่าเป็นเท็จก ็คือข้อความในหน้า 18 ที่เขียนเอาไว้ว่า “การคัดสรรสมาชิกสภานิติบัญ ญัติแห่งชาติ(สนช.) ว่ามีลักษณะเป็นการต่างตอบแ ทน เอาโควตามาแบ่งเค้ก”
คำชี้แจง
ในประเด็นนี้ จากการตรวจสอบของกองบรรณาธิ การไปยังผู้เขียนบทความและเ นื้อหาทั้งหมดพบว่า เป็นการรายงานตามข้อเท็จจริ ง เนื่องเพราะในระหว่างที่เขี ยนบทความนี้มีข้อมูลแพร่สะพ ัดตามสื่อต่างๆ ทุกสาขาเกี่ยวกับเรื่องผู้ท ี่จะได้รับคัดเลือกมาเป็น สนช. ซึ่งรายงานตรงกันว่า มีข้าราชการทหารได้รับการคั ดเลือกเข้ามาเป็น สนช.เป็นจำนวนมาก ขณะที่ผู้ที่รับเลือกจากสาข าอื่นๆ เช่น นักธุรกิจ นักวิชาการ ข้าราชการประจำ อดีตข้าราชการประจำ คณะรักษาความสงบแห่งชาติก็ม ิอาจปฏิเสธได้ว่า เป็นการจัดสรรตำแหน่งให้กับ บุคคลที่ทำงานให้คณะรักษาคว ามสงบแห่งชาติหรือ บุคคลที่ใกล้ชิดกับคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ
ทั้งนี้ กรณีดังกล่าวก็มิใช่เรื่องแ ปลกอะไร เพราะเป็นสิทธิอันชอบธรรมที ่คณะรักษาความสงบแห่งชาติสา มารถกระทำได้ แต่สื่อมวลชนก็มีสิทธิที่จะ ติติงและท้วงติงโดยสุจริตใจ ได้เพื่อผลประโยชน์ ของประเทศชาติและประชาชนเป็ นสำคัญ
นอกจากนั้น ในกรณีเดียวกันนี้ มิได้มีเพียงแค่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ที่ วิพากษ์วิจารณ์ หากแต่สื่อมวลชนฉบับอื่นๆ ก็ตั้งข้อสังเกตไปในทำนองเด ียวกัน ซึ่งก็ถือเป็นเรื่องปกติตาม จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชี พที่จะต้องมีการตรวจ สอบการทำงานขององค์กร ตลอดรวมถึงหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ ของประเทศ
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ “หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์” ฉบับวันพุธที่ 30 กรกฎาคม 2557 ที่พาดหัวตัวใหญ่เอาไว้ว่า “เหล่าทัพแบ่งเค้ก สนช. ประจินเผย “ทอ.” ได้โควตา 20 คน/ รัฐสภาแต่งห้องรอ” ซึ่งก็ระบุชัดเจนว่าการแต่งตั้ง สนช.มีการแบ่งเค้กและใช้ระบ บโควตาในการจัดสรรตำแหน่ง
เช่นเดียวกับหนังสือพิมพ์ “คมชัดลึก” ฉบับวันพุธที่ 30 กรกฎาคม 2557 ที่พาดหัวเอาไว้ว่า “ทอ.20 ที่นั่ง สนช.” พร้อมโปรยข่าวเอาไว้ด้วยว่า “ประจิน” เผยทัพฟ้าได้โควตา สนช.20 ที่นั่ง
นอกจากนี้ พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง ผู้บัญชาการทหารอากาศ ในฐานะรองหัวหน้าคณะรักษาคว ามสงบแห่งชาติ(คสช.)ยังได้ใ ห้สัมภาษณ์เอาไว้ ชัดเจน ซึ่งหนังสือพิมพ์ทั้ง 2 ฉบับลงข้อความเอาไว้ตรงกัน กล่าวคือเมื่อผู้สื่อข่าวถา มกรณี สนช.จำนวน 220 จะมีการแบ่งโควตากันอย่างไร ว่า “ในส่วนเหล่าทัพอื่น ผมไม่ทราบ แต่ในส่วนกองทัพอากาศได้โคว ตา 20 คนและได้ส่งรายชื่อไปแล้ว และได้ผ่านการพิจารณาจากหัว หน้า คสช.แล้ว 10 คน ส่วนชุดที่สองอีก 10 คนจะได้หรือไม่ยังไม่ทราบ ....แต่ละเหล่าทัพจะได้โควต าเท่าไหร่นั้นผมไม่ทราบ …ส่วนโควตาคนนอกนั้น หัวหน้า คสช.เป็นผู้ดูแล”
ดังนั้น การนำเสนอข่าวสารของ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง มิได้เป็นการนำเสนอข้อมูลอั นเป็นเท็จ และมิได้มีเจตนาไม่สุจริตเพ ื่อทำลายความน่าเชื่อถือของ คณะรักษาความสงบแห่ง ชาติแต่ประการใด
อย่างไรก็ตาม เมื่อคณะรักษาความสงบแห่งชา ติ(คสช.) เห็นว่าการกระทำดังกล่าวของ หนังสือพิมพ์ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์มีเ จตนาไม่สุจริตเพื่อทำลายควา มน่าเชื่อถือของคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ ถือว่าเป็นการฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามประกาศคณะรักษ าความสงบแห่งชาติฉบับที่ 97/ 2557 ลงวันที่ 18 กรกฎาคม 2557 เรื่องการให้ความร่วมมือต่อการป ฏิบัติงานของคณะรักษาความสง บแห่งชาติ และการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ต่อสาธารณะ และประกาศคณะรักษาความสงบแห ่งชาติฉบับที่ 103/ 2557 เรื่องแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะรั กษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 97/ 2557 ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ขอน้อมร ับคำตักเตือนและคำท้วงติงขอ งคณะรักษาความสงบ แห่งชาติด้วยความยินดี
กระนั้นก็ดี เมื่อได้พิจารณาจากคำสั่งขอ ง คสช.ฉบับที่ 108/ 2557 จะเห็นได้ว่า คณะรักษาความสงบแห่งชาติมีบทสรุป ชี้นำเป็นที่เรียบร้อยแล้วว ่า ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ตีพ ิมพ์ข้อความหลายเรื่องด้วยข ้อมูลอันเป็นเท็จโดย มีเจตนาไม่สุจริต เพื่อทำลายความน่าเชื่อถือข อง คสช. ซึ่งจะส่งผลให้สภาการหนังสื อพิมพ์แห่งชาติอันเป็นองค์ก รที่ทำหน้าที่ดูแลผู้ ประกอบวิชาชีพสื่อสารมวลชนต ามธรรมนูญสภาการหนังสือพิมพ ์แห่งชาติ พ.ศ.2540 ต้องประสบกับความยุ่งยากและ ลำบากในการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งๆ ที่ คสช.ได้ออกประกาศฉบับที่ 103/2557 เพื่อแก้ไขประกาศฉบับที่ 97/ 2557 โดยให้อำนาจสภาการหนังสือพิมพ์แ ห่งชาติเป็นผู้ตรวจสอบและดำ เนินการพิจารณา ด้วยตัวเอง
ดังจะเห็นได้จากการที่ประธา นสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาต ิได้ออกมาเรียกร้อง ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ แจ้งประเด็นข้อกล่าวหาให้ชั ดเจน ทั้งๆ ที่ในสถานการณ์ปกติ สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ มีกระบวนการตรวจสอบการทำงาน ของสมาชิกหากพบการ กระทำผิดอยู่แล้ว
นั่นย่อมแสดงให้เห็นว่า เนื้อหาที่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์นำเ สนอไม่ได้เป็นเรื่องที่ผิดจ ริยธรรมสื่อ หากแต่เป็นเรื่องที่คณะรักษ าความสงบแห่งชาติมีทัศนคติต ่อ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ซึ่ งอยู่นอกเหนือกระบวนการตรวจ สอบปกติ
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง ไม่ต้องการให้สภาการหนังสือ พิมพ์แห่งชาติต้องมา แบกรับแรงกดดันจากคณะรักษาค วามสงบแห่งชาติในการทำหน้าท ี่ที่นอกเหนือจากกรอบ การทำงานที่มีอยู่เดิม ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อสภาการหน ังสือพิมพ์แห่งชาติในการคงไ ว้ซึ่งการเป็นองค์กร ที่ต้องการความเป็นอิสระ
ดังนั้น ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง ตัดสินใจที่จะหยุดการพิมพ์เ พื่อยุติปัญหาทั้งมวล
อย่างไรก็ดี ด้วยพันธะความรับผิดชอบต่อส ังคม หลังจากหยุดตีพิมพ์เป็นเวลา 1 เดือน ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จะก ลับมาทำหน้าที่สื่อที่ตรวจส อบองค์กรผู้มีอำนาจ ทุกองค์กรเพื่อผลประโยชน์ขอ งประเทศชาติและประชาชน ตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพอีก ครั้ง
1ascor
วันที่ 2 สิงหาคม 2557 เว็บไซต์ASTVผู้จัดการออนไล
คำชี้แจงจาก ASTV ผู้จัดการสุดสัปดาห์ ใน 3 ประเด็นดังกล่าว มีรายละเอียดดังนี้
ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์
ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งช
ขณะนี้ กองบรรณาธิการ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ ได้รับทราบรายละเอียดคำสั่ง
ทั้งนี้ จากการตรวจสอบรายละเอียดพบว
ข้อ 1
คณะรักษาความสงบแห่งชาติกล่
คำชี้แจง
กองบรรณาธิการ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ขอช
ยกตัวอย่างเช่น มาตรา 19 วรรค 3 ที่ให้อำนาจ คสช.ปลดนายกรัฐมนตรีได้ หรือมาตรา 42 ที่ให้อำนาจ คสช.ปลดคณะรัฐมนตรีได้เช่นเ
กระนั้นก็ดี มาตราที่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ให้
อย่างไรก็ตาม ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ขอป
ที่สำคัญคือ คำว่า พ่อทุกสถาบันนั้นเป็นคำที่ใ
ขณะเดียวกัน ในการทำหน้าที่ของ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ตลอ
นอกจากนั้น ส่วนหนึ่งของเนื้อหาก็ยังสน
ขณะเดียวกันเพื่อให้การนำเส
ด้วยเหตุดังกล่าว กองบรรณาธิการ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง
คำถามก็คือ คำสั่งเตือนของ คสช.ตั้งอยู่บนตรรกะเช่นใด และทำไมถึงเลือกเตือนเฉพาะ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์เพี
ข้อ 2
เป็นข้อกล่าวหาในคอลัมน์ “สมการการเมือง” ซึ่งตีพิมพ์ในหน้าที่ 16 โดยเนื้อหาที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็
คำชี้แจง
เนื้อหาในบทความดังกล่าว โดยเฉพาะในส่วนที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็
นอกจากนั้น การนำเสนอข้อมูลข้างต้นเป็น
ขณะเดียวกัน ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ก็ม
และที่สำคัญไปกว่านั้นก็คือ
ข้อ 3
เป็นข้อกล่าวหาใน “คอลัมน์ป้อมพระสุเมรุ” ที่ตีพิมพ์ในหน้าที่ 18-19 โดยข้อความที่คณะรักษาความส
คำชี้แจง
ในประเด็นนี้ จากการตรวจสอบของกองบรรณาธิ
ทั้งนี้ กรณีดังกล่าวก็มิใช่เรื่องแ
นอกจากนั้น ในกรณีเดียวกันนี้ มิได้มีเพียงแค่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์ที่
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ “หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์” ฉบับวันพุธที่ 30 กรกฎาคม 2557 ที่พาดหัวตัวใหญ่เอาไว้ว่า “เหล่าทัพแบ่งเค้ก สนช. ประจินเผย “ทอ.” ได้โควตา 20 คน/
เช่นเดียวกับหนังสือพิมพ์ “คมชัดลึก” ฉบับวันพุธที่ 30 กรกฎาคม 2557 ที่พาดหัวเอาไว้ว่า “ทอ.20 ที่นั่ง สนช.” พร้อมโปรยข่าวเอาไว้ด้วยว่า
นอกจากนี้ พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง ผู้บัญชาการทหารอากาศ ในฐานะรองหัวหน้าคณะรักษาคว
ดังนั้น การนำเสนอข่าวสารของ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง
อย่างไรก็ตาม เมื่อคณะรักษาความสงบแห่งชา
กระนั้นก็ดี เมื่อได้พิจารณาจากคำสั่งขอ
ดังจะเห็นได้จากการที่ประธา
นั่นย่อมแสดงให้เห็นว่า เนื้อหาที่ ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์นำเ
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง
ดังนั้น ASTVผู้จัดการสุดสัปดาห์จึง
อย่างไรก็ดี ด้วยพันธะความรับผิดชอบต่อส
ทุกๆคนใน สื่อต่างๆ ใครจะถูกบันทึกว่าเป็น "หมาเฝ้าบ้าน" หรือ "หมากินอาจม" ผลงานของเขาคนนั้นเท่านั้นท ี่จะเป็นตัวบอก และ ประวัติศาสตร์จะต้องบันทึกไ ว้ด้วยว่า วงศ์ตระกูลใดเป็น "หมาเฝ้าบ้าน" วงศ์ตระกูลใดเป็น "หมากินอาจม" แม้เขาคนนั้นจะตายไปแล้วสัก กี่ปีก็ตาม ลูกหลานของเขาก็จะถูกเรียกข านว่า ลูกหลานของ "หมาเฝ้าบ้าน" หรือ ลูกหลานของ "หมากินอาจม" และ ผลกรรมที่พวกเขาก่อไว้จะต้อ งตกถึงลูกหลานของพวกเขาอย่า งแน่นอน